ข่าวต่างประเทศ ผู้สื่อข่าวรายงานระทึกขวัญ ไฟไหม้สลัมเกาหลี “กูรยอง” พื้นที่ที่ถูกขนานนามว่าเป็นสลัมแห่งสุดท้ายของกรุงโซล เหตุการณ์ครั้งนี้ไฟไหม้เป็นต่อตะโก 60 หลังคาเรือน ผลให้ประชาชนหลายร้อยรายต้องอพยพหนีออกจากพื้นที่เพื่อความปลอดภัย
ไฟไหม้สลัมเกาหลี “กูรยอง” พื้นที่ตอนใต้ของกรุงโซล-ย่านกังนัม สลัมที่สุดท้ายแห่งกรุงโซล
ในวันที่ 20 มกราคม 2566 เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้เลขลงพื้นที่เพื่อระงับเหตุเพลิงไหม้ ในย่านกลางนำ ชุมชนที่ชื่อว่า “กูรยอง” พื้นที่ดังกล่าวนี้อยู่ทางตอนใต้ของกรุงโซล ยังได้รับฉายาว่าเป็น “สลัมที่สุดท้ายแห่งกรุงโซล”
จากรายงานเปิดเผยว่าเพลิงไหม้ลุกลามไปยังบ้านเรือนของประชาชนมากกว่า 60 หลังคาเรือน ส่งผลให้ประชาชน 500 ชีวิตต้องเดินทางอพยพหนีออกจากพื้นที่ดังกล่าว ทั้งนี้ยังไม่มีการรายงานถึงผู้บาดเจ็บและประชาชนที่เสียชีวิตแต่อย่างไร
หนึ่งในเจ้าหน้าที่ดับเพลิงของ เขตกังนัม ได้ออกมากล่าวเปิดเผยว่า เหตุการณ์เพลิงไหม้ที่เกิดขึ้นในชุมชน “กูรยอง” มันเริ่มขึ้นตั้งแต่เวลา 06.28 น.(เวลาท้องถิ่นในเกาหลี) ภายหลังจากที่ได้รับแจ้งเหตุเจ้าหน้าที่เดินทางไปยังจุดที่เกิดเพลิงไหม้โดยใช้เวลา 5 นาที เมื่อไปถึงพบว่าบ้านเรือนส่วนใหญ่ของประชาชนในกูรยอง แล้วแต่สร้างจากแผ่นไม้อัดไวนิล ซึ่งมันก็เป็นเชื้อเพลิงชั้นดี ถ้ามีเปลวไฟก็จึงลุกลามได้อย่างรวดเร็ว เจ้าหน้าที่ดับเพลิงระดมกำลังพร้อมกับตำรวจข้าราชการที่เกี่ยวข้อง 800 คน เพื่อเข้ามาช่วยจัดการเหตุเพลิงไหม้ที่เกิดขึ้น จากนี้ยังมีการใช้เฮลิคอปเตอร์เพื่อช่วยดับเพลิงในพื้นที่ดังกล่าวจำนวน 10 ลำ
ขณะเดียวกันที่กำลังระงับเพลิง ประชาชนก็ถูกเจ้าหน้าที่บางส่วนถ้ายกออกไปอยู่ในที่ปลอดภัย อาทิศูนย์กีฬาของโรงเรียนที่อยู่ในละแวกนั้น อย่างไรก็ตามเจ้าหน้าที่ก็มีแพลนที่จะโยกย้ายผู้อพยพไปพักอาศัยอยู่ในโรงแรมที่มีความสะดวกสบายมากกว่านี้
จากข้อมูลเปิดเผยว่า “ชุมชนกูรยอง” คือพื้นที่ซึ่งขึ้นชื่อว่า “สลัมแห่งสุดท้ายของกรุงโซล” อย่างไรก็ตามพื้นที่นี้ก็เป็นพื้นที่ทางการเกาหลีใต้ได้ออกมาเตือนเป็นเวลาหลายครั้งแล้ว ว่ามันมีความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ ซึ่งครั้งล่าสุดเคยระบุเอาไว้ภายในปี 2019 ชุมชนกูรยอง มีความเสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้ได้ง่ายและรวดเร็ว
นอกจากนี้เมื่อช่วงเดือนสิงหาคมปี 2022 ชุมชนกูรยอง เป็นอีกหนึ่งชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย หรือน้ำท่วมครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในกรุงโซล แหลมตลอดหลายปีที่ผ่านมามักจะมีเหตุการณ์ไฟไหม้เกิดขึ้นที่นี่ ลักษณะชุมชนบ้านเรือนถูกปลูกติดต่อกันอย่างแออัด วัสดุหรืออุปกรณ์ที่มาสร้างก็ล้วนแต่เป็นอุปกรณ์ที่ติดไฟได้ง่ายเป็นเชื้อเพลิงชั้นดี
นอกจากนี้ สลามแห่งนี้ยังเป็นสัญลักษณ์ของการแบ่งชนชั้นในเกาหลี หรืออาจจะเรียกว่าเป็นช่องว่างระหว่างคนในสังคม กลุ่มคนจนและกลุ่มคนรวย ทั้งที่ประเทศเกาหลีใต้ก็มี เศรษฐกิจการค้าขายที่ดีอยู่ในอันดับ 4 ของทวีปเอเชีย
ทางกลับกันแล้วเมื่อเราได้ยินคำว่า ที่มีตึกสูงและมักพบเจอแต่ความมั่งคั่ง แต่ก็นั่นแหละมันก็ย่อมมีอีกหลายๆชีวิตที่สวนทางกับเศรษฐกิจของพื้นที่ที่เจริญ อย่างไรก็ตามทางการเกาหลีก็มีแผนพัฒนาสลามแห่งนี้ มานาน 10 ปี แต่ดูเหมือนว่าแผนการพัฒนาจะล้มเหลว เนื่องจากผู้บริหารท้องถิ่นและคนในพื้นที่ไม่ลงรอยกัน มีการเจรจาจ่ายค่าชดเชยที่ดินที่ไม่เป็นธรรมมากนัก อาจจะไม่เป็นที่พอใจ
ข้อมูลเกี่ยวกับชุมชนซึ่งถูกขนานนามว่าเป็นสลัมแห่งสุดท้ายของกรุงโซล มีประวัติมาช้านาน มันมีการสร้างและตั้งชุมชนมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1980 ซึ่งคนส่วนใหญ่ที่มาอาศัยอยู่พื้นที่แห่งนี้ ล้วนแล้วแต่เป็นประชาชนที่ต้องย้ายออกมาจากบ้านเดิม หลังจากที่รัฐบาลเวียนคืนที่ดินเพื่อยกระดับแล้ววางผังเมืองใหม่ให้เจริญมั่งคั่ง แต่สำหรับผู้ที่มีรายได้น้อยก็เป็นอีกกลุ่มที่ย้ายมาอยู่ในชุมชนแห่งนี้ ต่อมาจึงทำให้ที่พักอาศัยดูแออัดมากขึ้น
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์