Friday, 22 November 2024

จ่ออนุญาต พ.ร.บ.อุ้มบุญ คู่สามีภรรยาชาวต่างชาติ นำไข่/สเปิร์ม ออกประเทศได้

(14 ก.พ. 65) ข่าวเด่นออนไลน์ เมื่อวานนี้ ผู้สื่อข่าวรายงานล่าสุด สำหรับคนมีลูกยาก กม. จ่ออนุญาต พ.ร.บ.อุ้มบุญ เร่งแก้ให้ถูกกฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหา สำหรับโรคมีบุตรยากและเปิดต่างชาติฝากลูกในไทย

สล็อต xo Slotxo

เร่งแก้ไขกฎหมาย คู่สามีภรรยาชาวต่างชาติ นำไข่/สเปิร์ม ออกนอกประเทศได้ จ่ออนุญาต พ.ร.บ.อุ้มบุญ ดันถูกกฎหมาย “รักษาการมีบุญยาก”

ข่าวเด่นออนไลน์ ประเทศไทย จ่ออนุญาต พ.ร.บ.อุ้มบุญ ดันถูกกฎหมาย “รักษาการมีบุญยาก”

กรณี กม.รับพิจารณากฎหมายใหม่ขอเสนอ จ่ออนุญาต พ.ร.บ.อุ้มบุญ หลังจากองค์การอนามัยโลก ประกาศภาวะการมีบุตรยากต้องได้รับการรักษา ขณะเดียวกันประเทศไทยสำรวจพบจำนวนเด็กลดน้อยลง และแนวนทางการแก้ไขที่ทางการมองเห็น คือ ให้การส่งเสริมแนวทางการเกิดมากขึ้น เช่น การนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยกระตุ้นรักษาการมีบุตรยาก

ทั้งนี้ ทางด้าน สบส.ได้เห็นพร้อมกับองค์กรอนามัยเจริญพันธ์แห่งชาติ ได้ร่วมเสนอแนวทางยื่นเรื่องต่อ สปสช. ให้เร่งศึกษาวิธีการในมีคุณภาพเพื่อทำให้กลุ่มประชาชนผู้มีบุตรยากได้ประสบผลสำเร็จในการสืบทายาทได้อกครั้งด้วยวิธีการต่างๆ

นายแพทย์ ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ อธิบดี สบส. ได้เผยว่า สำหรับความคิดส่วนตัวมองว่ามันเป็นเรื่องที่ดีหากเราให้การส่งเสริมและช่วยแก้ไขภาวะมีบุญยากให้กับประชาชน เพื่อกลุ่มดังกล่าวจะสามารถกลับมาตั้งครรภ์ได้อีกครั้งอย่างมีคุณภาพ เพราะอย่างไรเสียทุกวันนี้ประเทศเราก็มีการเกิดใหม่ของเด็กลดน้อยลงไปมากกว่าตายเสียชีวิต แต่การส่งเสริมกลุ่มผู้มีบุตรยากก็ต้องดูตามเงื่อนไขอีกทีมามีขั้นตอนอะไรบ้าง และใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยสนับสนุนให้เกิดการตั้งครรภ์ต้องอยู่ภายใต้ พ.ร.บ.คุ้มครองอุ้มบุญ แต่ต้องมีการแก้ไขให้ถูกต้องด้วยเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาในภายหลัง

สำหรับ พ.ร.บ.อุ้มบุญ ในความเป็นจริงได้มีกำหนดการใช้มานานมากแล้ว แต่ตอนนี้เพียงแต่มีการปรับปรุงมาตรการในบางข้อ เพื่อในสดคล้องในเหตุการณ์ปัจจุบัน ซึ่งที่ประชาชนมีความประสงค์มี่จะรักษาการมีบุตรยากเพิ่มสูงขึ้น และขั้นตอนต่างๆก็ต้องอยู่ภายใต้นโยบายของกฎหมายไทย และยังจะมีการอนุญาตให้ประเทศไทยเป็นแหล่งศูนย์กลางของนานาชาติ เปิดรับต่างชาติเข้ามารับการรักษาโรคมีบุตรยากในไทย ระยะเวลาที่ผ่านมา ไทยเองยังประสบปัญหาและอุปสรรคการอุ้มบุญแทน ภายในอีก 2 เดือนข้างหน้านี้จะได้รับข้อสรุปสำหรับเรื่องการอุ้มบุญ ยื่นเรื่องต่อ ครม.กฤษฎีกา พิจารณาอนุญาตให้ถูกกฎหมายไทยและแก้ไข พ.ร.บ.อุ้มบุญ ฉบับเดิมในบางข้อให้แก้เพื่อสดคล้องกับสถานการณ์

เรื่องแรกที่จะต้องมีการพิจารณาการแก้ไข คือ คนที่รับอุ้มบุญกำหนดให้เป็นหญิงไทย 1 และต้องมีการจดทะเบียนสมรสกับต่างชาวรายนั้นก่อน สำหรับหัวข้อนี้ภาคเอกชนได้ออกมาร้องเรียกว่าเป็นข้อกำหนดที่สร้างความยุ่งยากและหลายขั้นตอนเกินไป

ภาคเอกชนได้มองว่า ที่ผ่านมากคู่รักต่างชาติที่ประสบปัญหาการมีบุตรยากได้ให้ความสนใจที่จะเข้ามารับการรักษาที่รัก เพื่อเชื่อมั่นในแพทย์ไทย แต่ไม่สามารถมาทำได้เพราะกฎหมายไม่อนุญาต ข้อกฎหมายจดทะเบียนสมรสกับหญิงไทยจึงเป็นอุปสรรคเป็นอ่างมาก ภาคเอกชนเร่งเห็นว่าไทยควรแก้ไขอนุญาตให้คู่รักต่างชาติเข้ามาทำการรักษาเรื่องมีบุตรยากโดยการอุ้มบุญในไทยได้อย่างถูกกฎหมาย เพื่อเลี่ยงการลักลอบที่ผิดกฎหมายจะเป็นการดี

จากกฎหมายเดิม ไม่มีการอนุญาตใน ไข่และสเปิร์ม เคลื่อนย้ายออกนอกประเทศได้ นี่ก็เป็นอุปสรรคและปัญหาหนึ่ง ที่ผ่านมาชาวต่างชาติมากมายเดินทางบมาอาศัยอยู่ในไทยและมาทำการฝากไข่และสเปิร์ม เพราะมีความเชื่อมั่นในแพทย์ไทยแต่หากเมื่อจะกลับประเทศกลับไม่สามารถจะนำสิ่งที่ฝากไว้กลับไปได้ เพราะมันขัดต่อกฎหมายไทย หลายครั้งเราพลาดโอกาสในการแสดงฝีมือทางการแพทย์ และพลาดรายได้จะได้รับจากการอนุญาตในกรณีดังกล่าว เพราะเมื่อต่างชาติรู้ถึงข้อจำกัดจึงเลือกที่จะไม่ฝากไข่หรือสเปิร์มตั้งแต่ขั้นตอนแรก

ถามคาสำคัญที่หลายคนสงสัย คือ ถ้ากฎหมายอนุญาตให้ต่างชาติเข้ามาทำการใช้บริกรอุ้มบุญถูกกฎหมายในไทย จะนำหญิงอุ้มบุญมาเองได้ หรือ ต้องใช้หญิงไทยอุ้มบุญได้เท่านั้น นายแพทย์ธเรศ เผยว่า กฎหายใหม่อนุญาต ให้พาหญิงที่รับอุ้มบุญมาเองได้ และในทางเลือกหนึ่งก็สามารถใช้บริการหญิงไทยที่ยินดีรับจ้างอุ้มบุญได้ด้วยเช่นเดียวกัน แต่ทั้งสองฝ่ายต้องมีการจดเทียนรับรองต่างๆให้ชัดเจน ร่วมไปถึงค่าจ้าง

อีกหนึ่งคำถามสำคัญจากทางบ้าน คือ หากมีการรับจ้างอุ้มบุญถูกกฎหมาย มันจะเป็นการค้ามนุษย์ได้หรือไม่ นายแพทย์ธเรศ ได้ชี้แจงต่อว่า การอุ้มบุญไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มการค้ามนุษย์ เพราะคนที่ประสงค์ให้บุคคลอื่นอุ้มบุญให้ต้องมีการยืนยันและจดทะเบียนที่จะเป็นผู้ปกครองของทารกจริง กรณีนี้มันคนละอย่างการกับการรับจ้างอุ้มบุญผิดกฎหมาย (อุ้มบุญในไทยแล้วไปคลอดต่างประเทศ) โดยถ้าเป็นแบบการลักลอบนั้นเราไม่รู้ว่าเมื่อเอาเด็กออกมาแล้วเขาเอาเด็กไปทำอะไรต่อ

แต่ถ้าเราทำเรื่องนี้ให้ถูกกฎหมายเราก็จะสามารถรู้ที่มาที่ไปของเด็กได้ และเจ้าหน้าที่ก็จะสามารถดำเนินการได้ง่ายเพื่อควบคุมดูแล และอุ้มบุญถูกกฎหมายจะมีการลงทะเบียนและเช็คตรวจสอบติดตามกับผู้รับจ้างอุ้มบุญอยู่เป็นระยะๆระหว่างท้อง 9 เดือน รวมไปถึงหากคลอดเด็กแล้วก็สามารถติดตามเด็กได้

ทั้งนี้ การเอารับจ้างบุญอุ้มกำลังปรับเปลี่ยนแก้ไขให้ถูกกฎหมาย แต่ในอีกทางหนึ่งสำหรับคู่รักเพศทางเลือกจะสามารถมารับบริการดังกล่าวนี้ได้ไหม ส่วนนี้ขึ้นอยู่กับการจดทะเบียนสมรสว่าในประเทศไทยอนุญาตให้เพศที่สามจดทะเบียนสมรสกันได้หรือยัง หากทำได้ตามกฎหมายก็อาจจะสามารถทำเรื่องการอุ้มบุญได้ในอันดับต่อไป ทางต่างประเทศเองก็ประสบปัญหาในเรื่องนี้ “การจดทะเบียนสมรสของเพศที่สาม”

ข่าวเด่นออนไลน์ คู่รักเพศที่สาม กฎหมายไม่รับรองการจดทะเบียนสมรส ยังไม่สามารถบริการอุ้บุญได้