Friday, 22 November 2024

Queerbaiting คืออะไร? คำจากดราม่า “มิว-ศุภศิษฎ์” Fan Service

สืบเนื่องมาจากวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 ข่าวดารานักแสดงจาก ซีรีย์วาย “มิว-ศุภศิษย์” เนี่ยแฟนคลับให้ไปค้นหา Queerbaiting คืออะไร? ภายหลังจากที่ได้แสดงจบลงก็มีกระแสคู่จิ้น มิว-กลัฟ  ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาเขาต้องตอบแบบกำกวมเรื่องความสัมพันธ์เพราะถูกสั่งมา แต่ก็บอกเสมอหลังจาก 2 ปีเป็นเพื่อนกันเนื่องจากเขารู้สึกว่าโดนด่าแล้วโดนโจมตีจากแฟนคลับที่เล่นกับความรู้สึกคนอื่น

สล็อต xo Slotxo

Queerbaiting คืออะไร? จากดราม่าฟาดแฟนๆ “มิว-ศุภศิษฎ์” จิ้นจนไม่แยกแยะ มิว-กลัฟ

ภาพจาก ซีรีย์ TharnType: The Series เกลียดนักมาเป็นที่รักกันซะดีๆ

ดราม่าคู่จิ้น “มิว-กลัฟ” เปลี่ยนไปแฟนคลับบางส่วนถล่มด่า “มิวศุภศิษฏ์” ที่เอาแต่เล่นกับความรู้สึกคนอื่น ทั้งสองคนเป็นนักแสดงจากซีรีย์วายเรื่อง TharnType: The Series เกลียดนักมาเป็นที่รักกันซะดีๆ ด้วยการแสดงที่สมมติบาททำให้แฟนละครแฟนซีรี่หลายคนต่างจับคู่จิ้นอยากให้เป็นคู่จริง ซึ่งทั้งสองฝ่ายก็แยกย้ายกันไปเติบโตคนละทิศละทางแล้วตั้งแต่ series จบ แต่เหมือนแฟนๆจะไม่จบ จนมิวต้องออกมาฟาดให้รู้จักแยกแยะโลกในจินตนาการและโลกแห่งความเป็นจริง

วันนี้เราจะมาพาทำความรู้จักกับ คำศัพท์ Queerbaiting คืออะไร?

The Rollingstone ได้มีการอธิบายเอาไว้ว่า “Queerbaiting” คือ คนที่มีชื่อเสียง คนดัง บุคคลสาธารณะ ที่โด่งดังได้จากความสงสัยของกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ มันคือการประชาสัมพันธ์เพื่อผลประโยชน์ การหารายได้จากคนที่มีความรักในเพศเดียวกัน

จากบทความข้างต้นสามารถตีสรุปได้ว่า มันเป็นการหาผลประโยชน์จากกลุ่มที่มีความรักเพศทางเลือก รักเพศเดียวกันหรือหลากหลายเพศ โดยการแสวงหานี้เป็นการเสแสร้งแกล้งทำ เพื่อตอบสนองค่านิยมของกลุ่มคน เป็นการแสดงหรือแกล้งทำเพื่อการตลาด ซึ่งบางครั้งเองผู้ที่แสวงหาประโยชน์อาจจะไม่ใช่หนึ่งในกลุ่มคนที่รักเพศเดียวกัน หรือไม่ใช่กลุ่ม LGBTQ

ผลกระทบทางลบของคำศัพท์นี้ Queerbaiting

การแสวงหาผลประโยชน์หรือการเสแสร้งแกล้งทำเพื่อเรียกร้องความสนใจจากกลุ่มที่มี ความรักหลากหลายเพศ หรือ เพศเดียวกัน และในปัจจุบันเราเรียกกลุ่มนี้ว่า LGBTQ ซึ่งตอนนี้ได้มีการเปิดและยอมรับมากขึ้นจากสังคม อย่างไรก็ตามการสร้างตลาดเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากกลุ่มที่มีความรักหลากหลายเพศมันจะสร้างปัญหาในเชิงลบได้

ในกรณีที่บอกว่า Queerbaiting คือกระบวนการที่เหมือนเป็นการหลอกลวง เรียกร้องความสนใจเพื่อหาประโยชน์จากผู้ชม การสร้างสื่อซีรี่ส์รักเพศเดียวกัน และยังมีการนำเสนอที่คล้ายกับว่าจะยอมรับกลุ่ม lgbtq โดยตามความเป็นจริงแล้วผู้แสดงเอง ไม่ใช่กลุ่มหรือคนที่มีความรักเพศเดียวกันหรือหลากหลาย และในบางครั้งก็อาจจะไม่ชอบหรือยอมรับจริงๆเพียงแต่ทำตามหน้าที่ให้สมบทบาทเท่านั้น โดยมันจะสามารถมองได้ว่าสุดท้ายแล้วสื่อสารต่างๆก็จะลดทอนการยอมรับของกลุ่ม lgbtq ถ้าหากมีการโต้ตอบในภายหลังอย่างเช่นเหตุการณ์ของ มิว-กลัฟ