Friday, 22 November 2024

มูเมียตำรับยาจากศพ ของชาวยุโรปเมื่อหลายร้อยปีก่อนที่หลงใหลในมัมมี่จากอียิปต์

มูเมียตำรับยาจากศพ สุดน่าชวนขนลุกในประวัติศาสตร์ที่คนยุโรปนิยมกินมานานมากกว่า 500 ปีกก่อน เพราะพวกเขานั้นหลงใหลในมัมมี่จากอียิปต์ ว่าแต่ทำไมคนยุโรปถึงเชื่อกันหนักหนาว่าการรกินมัมมี่ในอดีตจะทำสุขภาพร่างกายดีและแข็งแรงนั้นเดี่ยวตามมาดูพร้อมกันได้เลย

สล็อต xo Slotxo

มูเมียตำรับยาจากศพ สุดน่าชวนขนลุกที่คนยุโรปบริโภคมานานมากกว่า 500 ปี

มูเมียตำรับยาจากศพ-สุดน่าชวนขนลุก

ความเชื่อที่เรากล่าวมาเมื่อตอนต้นนั้นคคาดว่าเกิดขึ้นเมื่อยุคกลางซึ่งในตอนนั้นคนยุโรปเชื่อกันว่าการนำมัมมี่มาบดให้ละเอียดแล้วนำมากินนั้นคือยารักษาโรคที่ดีที่ดี เช่นโรคต่อมน้ำเหลือง ในช่วงศตวรรษที่ 19 มัมมี่คือสิ่งที่ผู้คนชนชั้นสูงแห่งอังกฤษใช้เป็นเครื่องมือรังสรรความบันเทิงในงานเฉลิมฉลองอาหารมื้อค่ำค่ำ

ความคลั่งไคล้มัมมี่

ความเชื่อผิด ๆ ว่ามัมมี่คือยารักษาโรคที่ดีที่สุดเมื่อเจ็บป่วยนั้นส่งผลทำให้ผู้คนทั้งมั่งมีและยากจนนั้น กินซากศพมนุษย์ด้วยกันมานานหลายศตวรรษ และ Mumia นี่คือสิ่งที่ชาวยุโรปนั้นนิยมซื้อมากินกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งสามารถซื้อขายได้ตามราขายยาทั่วไป ส่วน Mumia นั้นทำขึ้นมาจากมัมมี่บดเป็นผงและยาสำหรับรักษาโรคต่าง ๆ และในยุคที่ยังไม่มียาปฏิชีวนะและยารักษาโรคโดยเฉพาะหมอในยุคนนั้นจึงจำเป็นจะต้องให้ยาแก่ผู้ป่วยที่มีส่วนผสมทำมาจากหัวกะโหลก กระดูก และเนื้อมัมมี่ เพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยต่าง ๆของชาวบ้าน เช่น ปวดศีรษะ ลดอาการบวม หรือรักษากาฬโรค

ตำรับยาจากศพ สุดน่าชวนขนลุกที่คนยุโรปบริโภคมานานมากกว่า 500 ปี

ใช่ว่าทุกคนจะเชื่อในสรรพคุณของยาเหล่านี้

ต่อมาไม่นานแพทย์หลวงชาวฝรั่งเศสนั้นได้ออกความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชื่อนี้ เพราะเขานั้นเห็นบางอย่างที่กลุ่มคนทำยานั้นทำในเมืองงอเล็กซานเดรียของอียิปต์ในปี 1564 บางอย่างที่ว่านั้นก็คือ มัมมี่ปลอมที่ทำจากศพชาวนา และนี่คือสิ่งที่ทำให้เขานั้นคิดได้ว่าผู้คนกำลังโดนหลอกให้กินมัมมี่ปลอม แม้ว่าความสงสัยนี้จะเกิดขึ้น ร้านขายยาในยุคนั้นก็ยังขายยาและหมอก็ยังคงให้ “ยามัมมี่” กับผู้คนเช่นนี้มาจนถึงช่วงศตวรรษที่ 18

หมอในยุคนั้นไม่เพียงคิดว่ามัมมีคือยาที่ดีที่สุดเพียงอย่างเดียว แต่พวกเขานั้นยังคิดว่าเนื้อและเลือดสดๆจากมนุษย์นั้นมีพลังมากกว่ามันมี่เนื้อแห้งๆจนคำกล่าวอ้างนี้ถูกส่งต่อไปถึงชาชั้นสูง ในปี 1909 หมอยุคนั้นนิยมใช้หัวกะโหลกของคนเป็นยารักษาอาการป่วยทางระบบประสาท ซึ่งเป็นช่วงเดียวกันกับที่ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษนั้นป่วยเป็นโรคชักจนได้กินยาที่ทำมาจากหัวกะโหลกของคนรักษาอาการป่วย และดูเหมือนว่าในยุคนนั้นผู้คนจะหลงใหลในการกินมูเมียที่หมอหลายๆคนนั้นแอบอ้างว่าผลิตจากมัมมี่ฟาโรห์ของอียิปต์

ความคลั่งไคล้มัมมี่ของคนยุโรป

มัมมี่เพื่อความบันเทิง

ในศตวรรษที่ 19 ความนิยมในการใช้มัมมี่รักษาโรคนั้นเริ่มจางหายไปจนหมด แต่ถ้าว่าผู้คนนั้นกลับหันมาใช้ “มัมมี่” สร้างสีสันในงานบันเทิงเริงรื่นด้วยการจัด “งานเลี้ยงแกะผ้าห่อศพมัมมี่” ในงานเลี้ยงฉลองต่างๆ ในปี 1837 – 1901 ต่อมาเมื่อปี 1798 จักรพรรดิ “นโปเลียน” นั้นได้ออกเดินทางไปที่อียิปต์เป็นครั้งแรก และการเดินทางครั้งนี้นั้นคือ จุดเริ่มต้นที่ทำให้ความอยากรู้อยากเห็นสะกิดขึ้นมาจนทำให้ศตวรรษที่ 19 นักเดินทางนั้นนำมัมมี่ที่พวกเขาซื้อมาจากอียิปต์กลับมายังประเทศที่พวกเขาอยู่ด้วย และนี่คือจุดเริ่มต้นที่ทำให้คนชั้นสูงนิยมชมชอบแกะผ้าห่อมัมมี่โบราณจากอียิปต์ในงานเลี้ยงเฉลิมฉลองส่วนตัวของพวกเขา ที่แย่ไปกว่านั้นคือพวกเขาเปลี่ยนมาใช้เพื่อสร้างความบันเทิงตามงานเลี้ยงรับประทานอาหารค่ำของคนชั้นสูงบ่อยมากขึ้น เมื่อถึงต้นศตวรรษที่ 20 ดีขึ้นมาหน่อยที่ผู้คนนั้นเริ่มมองว่าการแกะผ้าห่อมัมมี่เป็นเรื่องที่ไม่ควรทำ เพราะสร้างความเสียหายให้แก่สิ่งที่มีคุณค่าทางโบราณคดี สุดท้ายมันก็เลยจางหายไปจนมีเหลือแค่ประวัติศาสตร์เท่านั้น