รัฐบาลประเทศนิวซีแลนด์เตรียมแผนเรียกเก็บ “ภาษีเรอ” จากฟาร์มปศุสัตว์ เจ้าของฟาร์ม ผู้ที่ดูแลและครอบครองสัตว์จำพวก วัว ควาย และแกะในประเทศ หลังมีการตั้งเป้าลดก๊าซมีเทนสู้วิกฤตโลกร้อน และนี่มันคือนโยบายสุดแปลกใหม่ของศตวรรษที่ 21 หลังสื่อข่าวต่างประเทศรายงานบอกนี่มันคือนโยบายจัดการกับแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกครั้งใหญ่ของประเทศนิวซีแลนด์
ภาษีเรอ อาจถูกเรียกเก็บในไม่ช้า!!หลังนิวซีแลนด์ตั้งเป้าลดก๊าซมีเทนสู้วิกฤตโลกร้อน
เมื่อไม่นานมานี้ทางรัฐบาลของประเทศนิวซีแลนด์นั้นได้ประกาศออกสื่อว่า ในตอนนี้พวกเขานั้นกำลังเตรียมแผนการรับมือสำหรับการเรียกเก็บภาษีเรอจากกลุ่มเกษตรกรเจ้าของฟาร์ม และผู้ที่ครอบครองและดูแลสัตว์จำพวก วัว ควาย แกะในประเทศพร้อมกับบอกว่านี้มันคือ นโยบายที่สำหรับของประเทศในการจัดการแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกครั้งยิ่งใหญ่ที่สุด และนี่ถือว่าเป็นประเทศแรกในโลกที่มีนโยบายเรียกเก็บภาษีเร่อชนิดที่เรากล่าวมาเมื่อตอนต้น แม้จะดูเหมือนว่ามันเป็นนโยบายที่แปลกแต่บอกเลยว่ามันมีความสมเหตุสมผลมากๆในทางความคิด เชื่อว่าหลายๆคนและหลายๆประเทศน่าจะเห็นด้วยกับนโยบายใหม่สุดแปลกในที่พึ่งจะเกิดขึ้นมาในครั้งนี้
ส่านสาเหตุที่สำคัญที่ทำให้พวกเขานั้นมุ่งหน้าเข้าหาการลดก๊าซเรือนกระจกนั้นมาจากเรื่อง “เรอ” ของวัวควาย นั้นเป็นเพราะว่า สัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์และการเกษตรหรือผู้คนที่ครอบครองสัตว์จำพวกนี้นั้น นับเป็นครึ่งหนึ่งของก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดที่ประเทศนั้นได้ทำการปล่อยออกมา หรือจะพูดง่ายๆก็คือคนกลุ่มนี้นั้นปล่อยก๊าซพิษพวกนี้ออกมามากกว่า ภาคส่วนที่ใช้พลังงาน อุตสาหกรรม หรือคมนาคมรวมกันเสียอีก สัดส่วนการปล่อยก๊าซมีเทนและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในประเทศนิวซีแลนด์ตอนนี้นั้นมีค่าเฉลี่ยเท่าอยู่ที่ 44 เปอร์เซ็นต์
จากความเห็นของรัฐมนตรีด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศนิวซีแลนด์กล่าวเอาไว้ว่า
ประเทศมีความจำเป็นต้องลดปริมาณก๊าซมีเทนที่ปล่อยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ และจำเป็นจะต้องวางระบบในการกำหนดกฎเกรณ์ราคาการปล่อยมลพิษอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์นั้นคือกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญมากที่สุด ในการที่เราจะการบรรลุเป้าหมายนั้น แผนการเรียกเก็บภาษียังประกอบไปด้วยเรื่องเทคโนโลยีต่างๆ ที่นำเข้ามาประยุกต์ใช้ เพื่อหาทางแก้ไขและลดปริมาณก๊าซมีเทนให้ได้มากที่สุดเท่าที่พวกเราจะช่วยกันทำได้ เช่น การพัฒนาอาหารเสริมที่ช่วยลดก๊าซมีเทนจากการเรอลง และรากยาวมาถึงการปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าภายในฟาร์ม ชดเชยก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมา ส่วนภาษีที่เรียกเก็บได้ก็จะถูกรวบรวมไปใช้กับงานวิจัย อีกทั้งยังนำไปพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ให้สามารถทำฟาร์มได้อย่างเป็นมิตรกับโลกมากที่สุด
ตอนนี้แผนการที่พวกเรานั้นคิดขึ้นมายังอยู่ในช่วงการโปรโมทและเปิดรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่วนทิศทางในการดำเนินแผนการนั้นก็ค่อนข้างจะเป็นไปในทิศทางบวก เพราะผู้คนส่วนมากนั้นเห็นด้วยในหลักการที่นำเสนอมา แต่ก็ยังต้องถกเถียงกันในรายละเอียดปลีกย่อยกันอีกต่อ ตามกำหนดขั้นตอนที่วางเอาไว้น่าจะแล้วเสร็จภายในเดือนธันวาคม 2022 และถ้าหากทุกฝ่ายตกลงกันสำเร็จและได้ความคิดเห็นที่ตรงกัน มันก็น่าจะนำไปสู่ขั้นตอนการจัดทำรายละเอียดต่างๆ และคาดว่าจะเริ่มเก็บภาษีได้จริงๆ ภายในปี 2025 เป็นต้นไป ในปัจจุบันประเทศนิวซีแลนด์ได้ปรับเป้าหมายลดการปล่อยก๊าซมีเทนลงได้ไปแล้วมากถึง 27 เปอร์เซ็นต์ ภายในปี 2050 (จากเดิมวางแผนลดไว้ 24 เปอร์เซ็นต์) นี่ถือว่าเป็นการก้าวข้ามเข้าหาความสำเร็จไปแล้วอีกหนึ่งก้าว ส่วนอีกก้าวหลังจากการประชุม COP26 ซึ่งมีกว่า 100 ประเทศร่วมลงนามว่าจะให้ความสำคัญกับการลดก๊าซมีเทน
สำหรับมีเทนเป็นก๊าซนั้นคือสิ่งที่มีพลังความร้อนสูงมากกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เทียบไม่ติดมากถึง 25-30 เท่า ทางด้านนักวิทยาศาสตร์กล่าวว่าสภาพภูมิอากาศเปรียบก๊าซมีเทนว่ามันเหมือนกับ “เครื่องพ่นไฟ” ดีๆนี้เองเมื่อนำมันมาเมื่อเทียบกับการเพิ่มความร้อนทีละน้อยของก๊าซคาร์บอนฯ ปัจจุบันความเข้มข้นของก๊าซมีเทนในชั้นบรรยากาศโลกในตอนนี้พบว่ามันมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น 17 ส่วนต่อพันล้าน (ppb) นี่มันคือการก้าวกระโดดขึ้นมาจาก 15.3 ppb ในปี 2020 ที่ผ่านมา หลังจากการประชุม COP26 นั้นมีมติตรงกันว่า ประชาชนทุกคนบนโลกจำเป็นต้องร่วมมือกันลดก๊าซมีเทนลงให้ได้ครึ่งหนึ่งจากที่ปล่อยอยู่ มนุษยชาติจึงจะรอดพ้นจากวิกฤตโลกรวนในอนาคตได้
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์