วิจัยชี้!!อาการ สมองล้าหลังติดโควิด มาพร้อมกับปัญหาสุขภาพโรคสมองเสื่อมและโรคลมบ้าหมู ที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นมาก และมันนั้นมีมากกว่าการติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจและโรคอื่นๆ มากยิ่งขึ้นภายใน 2 ปีที่ผ่านมางานวิจัยของนักวิจัยจาก University of Oxford
สมองล้าหลังติดโควิด มาพร้อมสมองเสื่อมและโรคลมบ้าหมูเพิ่มมากขึ้นภายใน 2 ปีที่ผ่านมา
งานวิจัยจาก University of Oxford บอกว่าหลังจาก 2 ปี ที่ประชาชนคนทั่วโลกนั้นพบเจอกับโรคระบาดและได้รับการติดเชื้อโรคโควิด-19 ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการบ่งชี้อาการหลังป่วยว่า พวกเขานั้นมีอาการสมองล้า สมองเสื่อม และมีโอกาสเป็นโรคลมบ้าหมูเพิ่มมากกว่าเดิม ซึ่งมันคือโรคที่มากกว่าการติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจและโรคอื่นๆ แต่ถ้าว่าข้อมูลจากงานวิจัยที่เหมือนกันเขียนเอาไว้ว่าาแทบไม่เจอความวิตกกังวลและความซึมเศร้าในผู้ป่วยที่เป็นเด็กและผู้ป่วยที่เป็นผู้ใหญ่ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา แม้ผลจะออกมาเป็นอย่างนั้นทางนักวิจัยนั้นยังคงต้องสืบหาความจริงกันต่อไป ว่าทำไมการติดเชื้อโควิดถึงส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการอื่นๆ แทรกซ้อนตามมา และทางผู้เชี่ยวชาญคาดการณ์ว่าเชื้อไวรัสโรคโควิดรบกวนการใช้ชีวิตประจำวันและทำให้เกิดอาการป่วย ส่วนงานวิจัยที่เคยเผยแพร่ออกมาในช่วงก่อนหน้านี้จำนวนไม่น้อยนั้นเขียนเอาไว้ว่า กลุ่มของผู้ใหญ่มีความเสี่ยงจะประสบพบเจอกับอาการทางสมองและสุขภาพจิตมากขึ้นหลังจากที่ติดเชื้อโควิด 6 เดือน ซึ่งงานวิจัยชิ้นดังกล่าวนี้พึ่งวิเคราะห์ความเสี่ยงต่ออาการผิดปกติ 14 ประเภท
- ในผู้ป่วยจำนวน 25 ล้านคน
- ในช่วงเวลา 2 ปีหลังติดโรคโควิด
- กลุ่มประชากรเหล่านี้อาศัยอยู่ในสหรัฐฯ เป็นส่วนใหญ่
จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มาเปรียบเทียบกับประชากรอีก 1.25 ล้านคน
- ที่เป็นกลุ่มประชากรลักษณะใกล้เคียงกัน
- แต่มีอาการการติดเชื้อด้านระบบทางเดินอากาศแบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่โควิด
สำหรับกลุ่มที่เป็นโควิด ในช่วงสองปีหลังการติดเชื้อ พบว่ามีอาการใหม่ๆ ดังนี้
1.ในผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 65 ปี พบว่ามี
- ภาวะสมองเสื่อม
- เส้นเลือดในสมองแตก
- ภาะสมองล้า
2.ในประชากรอายุระหว่าง 18-64 ปี
- ภาวะสมองล้า
- โรคลมบ้าหมูและ
- ความผิดปกติทางจิตของเด็ก
ความเสี่ยงโดยรวมยังนับว่าน้อยอยู่ยกตัวอย่าง เช่น
1.เด็ก 260 คน จากจำนวน 10,000 คน
- มีความเสี่ยงในการเป็นโรคลมบ้าหมู
- หลังติดเชื้อโควิดประมาณ 6 สัปดาห์
2.ส่วนเด็กที่ป่วยเป็นโรคทางทางเดินหายใจอื่นๆ
- มีโอกาสเป็นลมบ้าหมูประมาณ 130 คน
- จาก 10,000 คน
3.ความเสี่ยงความผิดปกติทางจิต
- หลังติดโควิดเพิ่มขึ้นแต่ไม่มาก
- มีสัดส่วน 18 คน จาก 10,000 คน
อาการผิดปกติบางที่พบได้น้อยหลังผู้ป่วยติดเชื้อโควิดผ่านมาแล้ว 2ปี ได้แก่
1.ภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า
- ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
2.ความผิดปกติทางจิตในผู้ใหญ่
- ผลงานวิจัยพบว่าความเสี่ยงภาวะซึมเศร้าและวิตกกังวลจะหายไปภายใน 2 เดือนหลังผู้ป่วยหายดีแล้ว
ศ.พอล ฮาร์ริสัน หัวหน้าทีมวิจัยจาก University of Oxford ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ บอกว่า
“เป็นเรื่องที่น่ากังวล ที่พบภาวะสมองเสื่อมและโรคลมชักเกิดขึ้นเป็นประจำหลังผู้ป่วยติดเชื้อโควิด แม้เวลาจะผ่านมานานมาถึง 2 ปีแล้วก็ตาม แต่ในความโชคร้ายก็ยังงมีความโชคดีที่อาการซึมเศร้าและอาการวิตกกังวลหลังติดเชื้อโควิดเกิดขึ้นเพียง “ช่วงสั้นๆ” ไม่ได้ยาวนานสำหรับกลุ่มของเด็ก” ซึ่งเรื่องราวที่เกิดขึ้นนั้นนักวิจัยมองว่ามันเป็นเรื่องที่ยากมากๆในการทำเป็นมองไม่เห็นผลกระทบที่เกิดขึ้นมา แต่มันยังไม่ได้รุนแรงจนเหมือนกันคลื่นยักษ์ แม้ในบางกรณีอาจต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์ ซึ่งมันอาจเป็นการไปสร้างภาระเพิ่มมากขึ้นให้กับกลุ่มงานบริการทางสาธารณสุข
สำหรับงานงานวิจัยชิ้นล่าสุดที่เรานั้นมาให้ดูนั้นถูกนำมาเผยแพร่ผ่าน Lancet Psychiatry ที่มีเนื้อหาเขียนเอาไว้ว่า พวกเขานั้นไม่ได้ติดตามผู้ป่วยของเขาทุกคนตลอดช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา หลังจากที่พวกเขาติดเชื้อโควิด สิ่งที่นักวิจัยทำนนั้นก็คือ การนำข้อมูลมาวิเคราะห์จำนวนคนที่ได้รับการชี้แจงอาการใหม่ 2 ปี หลังจากที่พวกเขาติดเชื้อโควิดแทน แถมว่าพวกเขานั้นยังไม่ได้ดูความรุนแรงของอาการที่เกิดขึ้นกับคนเหล่านั้นด้วย หรือพูดง่ายๆก็คือพวกเขานั้นไม่ได้วิเคราะห์ว่า กลุ่มคนเหล่านั้นมีอาการป่วยที่ว่ายาวนานแค่ไหน แถมยังไม่ได้เปรียบเทียบว่าอาการที่ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยหลังจากเป็นโควิดกับผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจอื่นๆ มีความเหมือนกันมากน้อยเพียงใด แต่นักวิจัยกับไม่เรียกอาการที่เกิดขึ้นกับหลุ่มคนดังกล่าวนั้นว่า “ลองโควิด” หรือบอกว่ากลุ่มอาการดังหกล่าวนั้นคือ ผลค้างเคียงจากการติดเชื้อโควิดในระยะยาว ถึงแม้ว่าอาการสมองล้าหรือปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความทรงจำและสมาธิเป็นอาการที่สามารถพบเจอได้ทั่วไป
งานวิจัยที่เพิ่งออกมาใหม่เมื่อช่วงที่ผ่านมานั้นเขียนเอาไว้ว่า ไวรัส COVID-19! OMICRON ที่แพร่ระบาดเมื่อช่วงฤดูหนาวที่ผ่านมาส่งผลให้เกิดอาการลองโควิดน้อยกว่าสายพันธุ์อื่นๆ แต่ถ้าว่ามันกับทำให้ผู้ที่ติดเชื้อ COVID-19! นั้นเสี่ยงพบเจอกับอาการภาวะทางสมองและสุขภาพจิตมากกว่า ติดเชื้อ COVID-19! Delta แม้ว่าอาการติดเชื้อนั้นรุนแรงน้อยกว่า
“ความวุ่นวายทางสังคม”
งานวิจัยของ University of Oxford ชิ้นนี้ยังมีข้อจำกัดอยู่ไม่น้อยข้อจำกัดที่ว่านั้นก็คือ พวกเขานั้นไม่ได้บอกว่าโรค COVID-19! ส่งผลให้สมองเกิดความผิดปกติไปควบคู่กับจิตใจได้อย่างไร ถึงแม้ว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญจำนวนมากนั้นกล่าวอ้างว่าพวกเขานั้นสามรถอธิบายข้อจำกัดนี้ได้ว่าเป็นเพราะการเกิดลิ่มเลือดขนาดเล็ก
ศ.เดวิด เมนอน จาก University of Cambridge บอกว่าผลกระทบของการต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลเพราะป่วย COVID-19! “เหมือนกับเรานั้นแก่ตัวลงมาถึง 20 ปี (ในช่วงอายุ 50 – 70 ปี)”
พอล การ์เนอร์ ศาสตราจารย์กิตติคุณด้านกระบวนการวิจัยเชิงสังเคราะห์ในประเด็นสุขภาพโลกจาก Liverpool School of Tropical Medicine บอกว่า COVID-19! เปลี่ยนวิถีการใช้ชีวิตของผู้คนไปอย่างมาก พร้อมบอกข้อมูลที่น่าสนใจเอาไว้ว่า อาการสมองเสื่อมและอาการทางจิตที่มีปริมาณมากขึ้นมาที่ละไม่เยอะเท่าไหร่นั้นน่าจะมาจาก ความวุ่นวายทางสังคมและสภาพแวดล้อมความเลวร้ายที่มนุษย์ทุกคนต้องเผชิญหน้ากันอยู่ มากกว่าจะเป็นผลโดยตรงจากเชื้อไวรัส”
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์