Monday, 25 November 2024

ฝนตก-น้ำท่วมต้องระวัง “โรคทางผิวหนัง” และอาการผิดปกติทางผิวหนังที่สามารถแพร่ระบาดได้ผ่าน “สายน้ำ”

20 Sep 2022
216

ฝนตก-น้ำท่วมต้องระวัง 6 โรคทางผิวหนัง และอาการผิดปกติของสุขภาพทางผิวหนังที่สามารถแพร่ระบาดได้ผ่าน “สายน้ำ” ไม่ควรมองข้าม และถ้าหากว่าทุกคนนพบเจอกับอาการผิดปกตินั้นก็ขอแนะนำว่าให้รีบไปพบอแพทย์ที่โรงพยาบาลทันที เพื่อที่จะไดด้รับการเข้ารับการรักษาได้อย่างถูกต้องตามวิธี

สล็อต xo Slotxo

ฝนตก-น้ำท่วมต้องระวัง 6 โรคทางผิวหนังที่มากับน้ำ และไม่ควรมองข้าม หากพบเจอ แนะรีบพบแพทย์เพื่อรับการรักษาให้ถูกต้องตามวิธี

ฝนตก-น้ำท่วมต้องระวัง 6 โรคทางผิวหนังที่มากับน้ำ และไม่ควรมองข้าม หากพบเจอ แนะรีบพบแพทย์เพื่อรับการรักษา

ในช่วงฤดูฝนเป็นช่วงที่ทำให้หลายๆคนหลายๆอาชีพลำบาก เพราะปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมามาก และอาจส่งผลให้เกิดน้ำท่วมทำให้การเดินทางออกไปทำงานและออกไปทำธุรระลำบากเพิ่มขึ้น ซึ่งอีกหนึ่งปัญหาที่ไม่พูดถึงเลยนั้นไม่ได้ก็คือ โรคระบาดที่มากับกระแสน้ำ เชื่อว่าทุกคนนั้นทราบกันดีอยู่แล้วว่าฤดูฝนเป็นอีกหนึ่งฤดูที่ทำให้มนุษย์นั้นป่วยง่าย อีกทั้งยังมีโรคระบาดมากมายมากับกระแสน้ำและถ้าหากว่าเราเป็นคนที่มีอาชีพที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงน้ำฝนได้นั้นยิ่งจะส่งผลให้ร่างกายของเรานั้นเสี่ยงติดเชื้อโรคระบาดที่มากับน้ำได้อย่างง่ายดาย อาทิ โรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ปอดบวม และยังมีอีกสารพัดโรคที่มากับน้ำและฤดูฝนข้อมูลจาก กรมการแพทย์จากสถาบันโรคผิวหนังนั้นได้บอกว่า ในช่วงฤดูฝนนั้นมีโรคยอดนิยมจำนวน 6 โรค พร้อมอธิบายถึงสาเหตุ และการดูแลรักษา และบอกว่าให้ทุกคนนั้นหมั่นสังเกตตัวเองหากมีอาการผิดปกติ แนะนำให้เข้ามาปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทันที และ 6 โรคผิวหนังที่ต้องระวังในช่วงฤดูฝนนั้นมีดังนี้

โรคน้ำกัดเท้า (Athlete’s foot หรือ Hong Kong foot) 

  1. โรคน้ำกัดเท้า (Athlete’s foot หรือ Hong Kong foot) 

โรคผิวหนังที่เกิดกับเท้านั้นเกิดได้จากหลากหลายปัจจัย แต่หลักๆเลยนั้นมันเริ่มต้นมาจาก “เชื้อรา” เหมือนกับ “โรคกลากเกลือน” และถ้าหากว่าเรานั้นสวมใส่รองเท้าถุงเท้าที่อับชื้น โรคดั่งกล่าวนั้นมันก็สามารถเป็นได้อย่างง่ายดาย อีกทั้งยังสามารถติดมาจากข้าวของเครื่องใช้ที่ปนเปื้อนกับเชื้อราตัวนี้นั้นเอง

การดูแลรักษา 

การดูแลรักษานั้นก็ไม่ได้ยุงยาก เพียงแค่ซื้อยาทาเชื้อราสำหรับใช้ภายนอกมาทาอย่างต่อเนื่องจนกว่ามันจะหาย หรือถ้าต้องการใช้ยาชนิดทานรักษาโรคนั้นก็สามารถปรึกษาแพทย์ และดูว่าจุดที่เกิดนั้นมันกว้างมากแค่ไหน

  1. โรคกลาก (Dermatophytosis) และเกลื้อน ( Tinea Versicolor) 

โรคผิวหนังติดเชื้อราชนิดนี้นันมีลักษณะคล้ายๆกันกับโรคน้ำกัดเท่าที่มีสาเหตุมาจาก “เชื้อรา” ประเภทเดียวกันแต่เชื้อราตัวนี้นั้น สามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนบนร่างกาย โดยเฉพาะจุดที่ร่างกายนั้นอับชื้น อาทิต ข้อพับ ก้น และจุดต่างๆจของร่ายการที่มีเหงื่อที่ต่อนข้างอับชื้น

การดูแลรักษา

การดูแลรักษาก็สามารถทำได้ง่ายๆ เพียงแค่สวมใส่เสื้อผ้าที่แห้งและสะอาด หากพบว่าตามร่างกายเกิดอาการผิดปกติก็สามารถซื้อยามาทาได้ การรักษาความสะอาดไม่ให้ร่างกายอับชื้นนั้นก็คือวิธีรักษาที่ดีที่สุดแล้ว

โรคผิวหนังอักเสบจากภูมิแพ้ (Atopic eczema) 

  1. โรคผิวหนังอักเสบจากภูมิแพ้ (Atopic eczema) 

คนที่เป็นภูมิแพ้ผิวหนังอาจถูกกระตุ้นให้ผื่นรามขึ้นตัวได้ง่ายจากสิ่งต่างๆมากกว่าคนอื่น อย่างเช่น เมื่อร่างกายนั้นได้สัมผัสน้ำที่ไม่สะอาด และจุดต่างๆของร่างกายนั้นเกิดความอับชื้น

การดูแลรักษา

  • ทำความสะอาดผิวด้วนสารที่อ่อนโยน
  • ลือกทาครีมบำรุงที่ไม่มีสารก่อระคายเคือง
  • เลือกเสื้อผ้าที่สวมใส่สบาย ไม่รัดแน่นจนเกินไป
  1. ผิวหนังอักเสบจากแมลงสัตว์กัดต่อย

ฤดูฝนเป็นฤดูที่สัตว์มีพิษออกมาจากป่า และเป็นช่วงที่เราต้องระมัดระวังตัวให้มาก เพราะสัตว์ป่าชนิดนั้นเป็นพาหะนำโรคอย่างเช่นยุงลาย ที่นำพาไข้เลือดออกมาให้เรา และยังมีสัตว์อื่นอีกมากมายที่อาจทำให้เราติดโรคระบาดได้หากบังเอิญถูกมันกัดต่อย

การดูแลรักษา

หากถูกสัตว์กัดให้รีบล้างด้วยน้ำสะอาด ถ้าผิวของเรานั้นมีผื่นหรือมีอาการแปลกๆสามารถใช้ยาทาแมลงสัตว์กัดต่อยได้เลย แต่หากมีอาการปวดแสบปวดร้อน หรือบวมเจ็บผิดสังเกตให้รีบไปหาหมอ

เท้ามีกลิ่นเหม็น ( Pitted keratolysis) 

  1. เท้ามีกลิ่นเหม็น ( Pitted keratolysis) 

โรคนี้เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่หนังเท้าชั้นนอก เป็นโรคที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งสำหรับคนที่เท้าเจอกับอาการรชิ้นๆบ่อยๆ และคนที่มีเหงื่อที่เท้าปริมาณมากๆ แม้มันไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ แต่มันก็ส่งผลเสียด้านบุคลิกภาพมากๆ

การดูแลรักษา

  • ให้ยาปฏิชีวนะชนิดใช้ภายนอก
  • หมั่นดูแลความสะอาด
  • ปรับเปลี่ยนถุงเท้ารองเท้า
  • รักษาภาวะเหงื่อเท้ามากเกิน
  1. สิวเห่อ (Seasonal aggravation of acne) 

ความร้อนและความชื้นทั้งหมดทั้งมวลที่ว่ามานั้นคือบ่อของการเกิดสิว เพราะรูขุมขนของเรานั้นเปิดกว้าง ทำให้สิ่งสกปรกนั้นเข้าไปทำให้สิวนั้นเกิดขึ้น อีกทั้งตอนนี้พวกเรายังต้องสวมหน้ากากอนามัย

การดูแลรักษา

  • ดูแลความสะอาด
  • หากมันมีจำนวนมากขึ้นให้รีบไปปรึกษาหมอ
  • ใช้ยาสิวอย่างสม่ำเสมอ
  • เปลี่ยนหน้ากากทุกวัน
  • เลือกหน้ากากที่ไม่ระคายผิวจนเกินไป
  • สิวเห่อ (Seasonal aggravation of acne)