ไลฟ์สไตล์ไขปริศนาคาใจ!?? ทำไมเราต้องพูดเสียงสอง กับ “เด็กน้อย เบ๋บี้” ผู้มีหน้าตาน่ารักน่าเอ็นดู และกับสิ่งมีชีวิตสัตว์น่ารักขนปุกปุยที่เรียกว่า “เจ้าเหมียว” อย่างเช่นประโยคที่ว่า “อุ้ยย น่ารักจังเลยย” หรือ “หนูอยากกินอะไรลูก” เป็นลักษณะเสียงสองเสียงสามที่เปลี่ยนแปลงไปโดยไม่รู้ตัว
ทำไมเราต้องพูดเสียงสอง กับ “เด็ก” และสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า “เจ้าเหมียว” มันเป็นสัญชาตญาณ หรือว่ามันเป็นพฤติกรรมเลียนแบบกันแน่!!
เชื่อว่าทุกคนนั้นคงเคยหลวมตัวพูดด้วยเสียงที่ผิดเพี้ยนไป หรือที่เราเรียกกันว่าเสียงสองเสียงสาม กับสิ่งมีชีวิตที่มีหน้าตาน่ารักอย่างเจ้าน้องแมว และเด็กทารกเบ๋บี๋กันบ้าง รู้ไหมว่าการกระทำดังกล่าวนั้นไม่ใช่คุณเพียงคนเดียวที่ทำ เพราะมีคนเกือบทั่วทั้งโลกที่เป็นแบบเดียวกันนี้
แน่นอนว่าคำถามต่อมาคือการกระทำดังกล่าวนั้นเราทำออกไปทำไม ทำไปเพื่ออะไร ทำแล้วมันได้อะไรขึ้นมา!! และคำถามอื่นๆบราๆอีกมากมาย บอกเลยใครที่กำลังตั้งคำถามและสงสัยในการะกระทำเสียงสองเสียงสามอยู่นั้นนคุณแวะมาถูกทางมาก เพราะวันนี้เราได้ไปนำคำตอบมาให้คุณแล้ว
เมื่อไม่นานมานี้ Courtney Glashow นัก psychologist เจ้าของ Anchor Therapy แห่งหนึ่งในรัฐ New JerseyUnited แห่ง States of America บอกว่าการพูดเสียงสอง (Baby voice) เป็นไปตาม “instinct” ในการพูดคุยกับเด็กหรือมนุษย์ การกระทำดังกล่าวนี้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เมื่อเราต้องการสื่อสารกับเด็กที่ยังไม่เข้าใจคำพูด เราจะใช้น้ำเสียงที่สูงขึ้น และจะพูดช้าลง โดยการใช้คำง่ายๆ และพูดซ้ำๆ
เพราะว่าพวกเรานั้นเข้าใจดีอยู่แล้วว่าคนที่เรานั้นกำลังพูดอยู่ด้วยไม่สามารถเข้าใจสิ่งที่เราพูดได้อย่างแน่นอน ดังนั้นเราเลยพยายามแสดงออกผ่านท่าทางเพื่อให้พวกเขานั้นเข้ามจสิ่งที่เราต้องการจะสื่อสารออกมาจากทาง “กายภาพ” เช่น การใช้โทนเสียงสูงๆ เพื่อเป็นการสื่อสารไปในทางที่ดี ว่าเรากำลังมอบความรักให้ และไม่ได้ตั้งใจจะทำร้าย หรือข่มขู่ใดๆ
แถมการพูดด้วยเสียงสองอย่างการพูดช้าๆ พูดซ้ำๆ ยังเป็นเรื่องที่ดีในการเรียนรู้ภาษาของเบ๋บี้นั้นดีขึ้นด้วย และเป็นการดึงความสนใจของพวกเขาได้มาก (แต่ในช่วงที่พวกเขานั้นเริ่มเรียนรู้การพูด-การสื่อสารอย่างจริงจัง การพูดเสียงสองอาจไม่เข้าท่ามากสักเท่าไรนัก)
มาต่อกันที่คำถามที่หลายๆคนสงสัยว่า แต่เราจะพูดเสียงสองใส่หมา แมว ไปทำไม?
ที่เป็นแบบนั้นเป็นเพราะว่าเรารู้สึกเหมือนกันกับเบ๋บี้ ในเมื่อเจ้าสี่ขาของเรานั้นมันน่ารักน่าชังมากกขนาดนี้ มีหรือที่มนุษย์อย่างเรานั้นจะไม่หลงและจะไม่เอ็นดูพวกมัน และมันก็ส่งผลให้เรานั้นเผลอตัวทำเสียงสองเสียงสามพูดคุยกับพวกมัน เพราะเราต้องการแสดงความรัก และเราก็สามารับรู้ได้ว่าพวกมันนั้นก็ต้องการการปกป้อง เช่นกัน
Emily Bray ตำแหน่ง psychology researcher จากมหาวิทยาลัย Pennsylvania บอกว่าโทนเสียงที่มนุษย์ใช้มีผลต่อพฤติกรรมของสัตว์ โดยเฉพาะสุนัขที่พวกมันนั้นสามารถรับรู้ความรู้สึกของเราได้จากโทนเสียงที่เปล่งออกไป และแน่นอนว่าเสียงสูงคือเสียงที่เป็นมิตรสำหรับพวกมัน แถมบางครั้งพวกมันยังใช้เสียงสูงส่งกลับมาให้เรา เพื่อแสดงความรักด้วย เช่น การร้อง คางเบาๆ ตอนอ้อนนั่นเอง
สรุปได้ว่า การที่มนุษย์เรานั้นแอบพูดเสียงเล็กเสียงน้อยใส่สิ่งมีชีวิตที่มีความน่ารักน่าน่าเอ็นดู ไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือสัตว์ขนปุกปุย ล้วนแล้วปแต่เกิดจากสัญชาตญาณการพยายามแสดงความรัก และความเป็นมิตร และถ้าสมมุติว่าเราแอบส่งเสียงสองใส่คนหรือตัวอะไรก็ขอให้รู้ว่าสัญชาตญาณเรากำลังเอ็นดูสิ่งนั้นแบบสุดๆ เลยล่ะ
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์