ปลาเหล็กและกระทะเหล็ก แพทย์เตือน อย่าหลงเชื่อว่ามัน “เพิ่มธาตุเหล็กได้” เพราะไม่ได้มีประโยชน์มากมายให้กับร่างกาย จากการนำเอามาปรุงอาหาร พร้อมกับบอกว่าวิธีที่ทำให้ร่างกายนั้นมี สุขภาพ ที่แข็งแรงได้รับ ธาตุเหล็ก อย่างถูกวิธีตามคำแนะนำของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ปลาเหล็กและกระทะเหล็ก แพทย์เตือน “ไม่ได้เพิ่มธาตุเหล็ก” ให้กับร่างกายจากการปรุงอาหาร
กระทรวงสาธารณสุขนั้นได้ออกมาประกาศขอประชาชนระวังว่าอย่าได้หลงเชื่อข้อมูลที่ถูกเผยแพร่ออกมาบนโซเชียลมีเดีย เดี่ยวกับประเด็น ปลาเหล็กและกระทะเหล็ก ช่วยเพิ่มธาตุเหล็กให้แก่ร่างกายของเราได้จากการปรุงและประกอบอาหาร เนื่องจากยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการป้องกันแก้ไขปัญหาโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
พร้อมบอกว่าร่างกายของมนุษย์นั้นต้องการรับธาตุเหล็กจากการกินอาหาร ที่มีสารอาหารที่ครบถ้วนในปริมาณที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ และควรได้รับวิตามินตามคำแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ด้านคุณหมอสราวุฒิ บุญสุข นั้นบอกว่าจากกรณีที่การส่งต่อข้อมูลบนโลกออนไลน์ เกี่ยวกับปัญหาการขาดธาตุเหล็ก
ที่มีข้อมูลงานวิจัยออกมาให้ความรู้ว่าถ้าหากเอา ปลาเหล็ก ลงไปปรุงร่วมกับอาหารที่เรารับประทาน มันจะเพิ่ม ธาตุเหล็ก ให้กับร่ายกายในอาหารจานดังกล่าว จากข้อมูลเชิงวิชาการบอกว่า ปลาเหล็ก ที่ได้รับการเตรียมตามสูตร (Lucky Iron Fish) สามารถให้ธาตุเหล็กเมื่อต้มในน้ำเดือดได้จริง
แต่ผลจากการทดลองอธิบายให้เห็นอย่างชัดเจนว่านำธาตุเหล็กไปใช้ และมนุษย์เรานั้นก็นำ Iron Bioavailability ที่ได้มาออกมาใช้ได้เพียงแค่นิดหน่อยเท่านั้น เมื่อนำมาเทียบกับการได้รับวิตามินเสริมธาตุเหล็ก Ferrous Sulfate จึงไม่พบการเพิ่มขึ้นของระดับเฟอร์ริติน (Ferritin) ที่เป็นโปรตีนที่จับกับธาตุเหล็กในเม็ดเลือดแดง
ที่สามารถช่วยแบ่งเบาภาระการขาดธาตุเหล็กหรือ anemia ได้ แน่นอนว่า ปลาเหล็ก จึงไม่ได้มีสรรคุณที่ดีอะไรมากมาย และไม่เพียงพอต่อการปกป้องหรือแก้ไขปัญหาโลหิตจางและปัญหาอื่นๆจากการขาดธาตุเหล็ก นอกจากนี้ยังพบอีกว่ามีการเผยแพร่ข้อมูลการขายสินค้ากระทะเหล็ก
ที่แอบอ้างว่ามีธาตุเหล็กและช่วยปริมาณให้เราได้รับประโยชน์ ถือเป็นการโปรโมทที่เกินจริง เพราะยังไม่มีผลการทดลแงจากที่ไหนเลยสามารถเอามารับรองได้ว่ามันถูกหลักและทำได้จริง ส่วนสาเหตุหลักที่ผู้ปรุงอาหารนิยมนำกระทะเหล็กมาใช้ปรุงประกอบอาหาร เพราะร้อนเร็วให้ความร้อนสูงใช้เวลาในการปรุงอาหารน้อย
อีกทั้งยังทำให้โภชนาการทางอาหารของเราลดน้อยลง แต่ข้อพิสูจน์นั้นคือความร้อนสูงที่ใช้ในการปรุงอาหารจะทำให้อาหารไขมันสูงบางชนิด และก่อให้เกิดสารเคมีที่ไม่ดีต่อสุขภาพถ้าหากไม่ระวังให้ดี การปรุงอาหารด้วยกระทะเหล็กอาจทำให้อาหารไหม้ได้อย่างง่าย
ดังนั้นการนำเอากระทะที่ทำมาจากเหล็กมากทำของกินนั้นมันจะส่งผลร้าย หรือส่งผลดีให้กับร่างกายของเรานั้นมันขึ้นอยู่กับหลานเหตุผลโดยเฉพาะอาหารหรือวัตถุดิบที่ใช้ปริมาณ และชนิดของน้ำมันที่ใช้ในการปรุงอาหารอีกด้วย ด้านคุณหมอสราวุฒิ ยังบอกต่อไปว่า การขาดธาตุเหล็กส่วนใหญ่ก็มักจะเกิดกับผู้หญิง
ปัจจัยหลักนั้นมาจากประจำเดือนและคนที่กินมังสาวิรัส รวมไปถึงสตรีที่มีครรภ์หญิงให้นมบุตรซึ่งคนเหล่านี้คือคนที่ร่างกายต้องการธาตุเหล็กเพื่อนำมาสร้างเม็ดเลือดแดง โดยสามารถสังเกตอาการของการขาดธาตุเหล็ก คือ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ตัวซีด เปลือกตาด้านในซีด เจ็บป่วยง่าย
เพราะว่าเลือดนั้นมันมีธาตุเหล็กมาหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอ และมันจะนำไปสู่ภาวะโลหิตจาง จากข้อมูลจากการสำรวจด้านโภชนาการของเด็กในภูมิภาคเอเชีย Southeast Asian Nutrition surveys (SEANUTS) ปี 2554 – 2555 พบว่า
เด็กไทย อายุ 6 เดือน – 12 ปี
- มีความชุกภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 4
***โดยพบกรณีดังกล่าวอยู่ที่เขตบ้านนอกมากกว่าเขตของคนเมืองถึง 2 เท่า และจากรายงานสำรวจสุขภาพของคนไทย
การตรวจร่างกายครั้งที่ 5 พ.ศ. 2556 – 2557
- พบความชุกโลหิตจางในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์
- อายุ 15–45 ปี
- ร้อยละ 7 รวมถึงข้อมูล
ความชุกโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ตั้งแต่ ปี 2562 – 2564
- ร้อยละ 4, 15.1
- ร้อยละ 6 ตามลำดับ
การส่งเสริมสุขภาพประชาชนทุกเพศทุกวัย มีผลต่อการพัฒนาศักยภาพของประชาชนคนไทยในระยะยาว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกหน่วยงาน จึงเร่งดำเนินงานแก้ไข ผลักดันนโยบายและรูปแบบการบริการต่างๆ เพื่อให้หญิงไทย โดยได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการป้องกันภาวะโลหิตจาง โดย
ตั้งแต่ปี 2562 – 2564 สำหรับเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี
- จะได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก
- ร้อยละ 28, 62.77
- ร้อยละ 57 ตามลำดับ
ตั้งแต่ปี 2562 – 2564 เด็กอายุ 6 – 12 ปี
- ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก
- ร้อยละ 20, 32.51
- ร้อยละ 02 ตามลำดับ
หญิงตั้งครรภ์ยังได้รับ
- ยาเม็ดเสริมไอโอดีน
- ธาตุเหล็ก
- กรดโฟลิก
- ร้อยละ 89, 79.46
- ร้อยละ 61 ตามลำดับ
รวมทั้งการส่งเสริมพฤติกรรมการกินอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง ได้แก่
1) เนื้อสัตว์ต่าง ๆ โดยเฉพาะ
- เนื้อแดง
- เลือด
- ตับ
- เครื่องในสัตว์
- ไข่แดง
- ปลา
- เป็ด ไก่
- อาหารทะเล
2) ธัญพืช เช่น
- ซีเรียล
- ข้าวโอ๊ต
- จมูกข้าวสาลี
- แป้ง
- ถั่วเมล็ดแห้ง
3) ผักใบเขียวเข้ม เช่น
- คะน้า
- ตำลึง
- ผักโขม
- ผักบุ้ง
- บรอกโคลี
4) ควรกินผลไม้ที่เป็นแหล่งของวิตามินซี เช่น
- ส้ม
- ฝรั่ง
- มะละกอ
- สตรอว์เบอร์รี
- ส้มโอ
- กีวี
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์