สมบัติอาณาจักรขอม ใน ประวัติศาสตร์ จากศตวรรษที่ 7 ที่ถูกลักลอบขโมยไปโผล่มาให้เห็นอีกครั้งใน “กรุงลอนดอน” เมื่อปี 2022 ที่ผ่านมา ซึ่งว่าสมบัติโบราณที่ลักลอบเอาไปเหล่านี้เป็นของ Douglas A.J. Latchford นักค้าโบราณวัตถุชาวอังกฤษสัญชาติไทย
สมบัติอาณาจักรขอม ที่ถูกแย่งชิงไป ถูกพบอีกครั้งในใจกลางเมือง “ลอนดอน”
Jewelry ค่าที่นำมาใช้เป็นเครื่องประดับจำนวนไม่น้อยเลยของ King Khmer ในสมัย Angkor ซึ่งบางชิ้นนั้นเป็นของที่มาจากศตวรรษที่ 7 ที่ถูกลักลอบขโมยไปได้ถูกค้นพบอีกครั้งในกรุงลอนดอนช่วงกลางปี 2022 สมบัติโบราณที่ถูกขโมยไปเหล่านี้เป็นของ Douglas A.J. Latchford นักค้าโบราณวัตถุชาวอังกฤษสัญชาติไทย
ผู้เชี่ยวชาญบอกว่าเครื่องประดับจำนวนมากที่ถูกพบเจอในครั้งนี้ผู้เชี่ยวชาญนั้นไม่คุ้นตามาก่อน และแปลกใจเป็นอย่างมากที่รับรู้และเห็นด้วยตาว่ามีสมบัติล้ำค่าเหล่านี้อยู่ เพราะเครื่องประดับอัญมณีเหล่านี้ได้ถูกส่งกลับคืนสู่กรุงพนมเปญ ของกัมพูชาแล้วเพื่อเตรียมนำไปจัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
Douglas A.J. Latchford เสียชีวิตในปี 2020 ในตอนที่เขานั้นรอการพิจารณาคดีในสหรัฐฯ ครอบครัวของ Douglas A.J. Latchford ให้คำมั่นจะส่งคืนโบราณวัตถุที่เขาลักบลอบขโมยไปให้แก่กับมาที่บ้านเกิด แต่ทางการในตอนนั้นไม่ทราบแน่ชัดว่าของที่จะส่งคืนมีอะไรบ้าง และจะมีขึ้นเมื่อใด
Brad Gordon เจ้าหน้าที่ Head of Cambodia’s investigation team เป็นบุคคลแรกที่ได้พบเจอทรัพย์สมบัติโบราณดังกล่าวตอนที่เขาเดินทางมายังกรุงลอนดอนช่วงฤดูร้อนปีที่ผ่านมา Brad Gordon ให้สัมภาษณ์กับสื่อว่าตัวแทนของครอบครัว Latchford ได้ขับรถพาเขาไปยังสถานที่ลับ “ที่ลานจอดรถมีรถคันหนึ่งที่มีกล่อง 4 กล่องอยู่ด้านใน”
Brad Gordon บอกว่าตอนที่เขาเห็นของมีค่าเหล่านั้นน้ำตาของเขาก็แทบไหล เพราะเขาไม่คิดว่ามีอัญมณียอดมงกุฎของอารยธรรมกัมพูชาโบราณถูกนำไปเก็บอยู่ในกล่อง 4 กล่องที่ท้ายรถคันหนึ่งด้วย เมื่อเปิดกล่องออกมาก็พบมีเครื่องประดับที่ทำจากทองคำและเพชรพลอย 77 ชิ้น เช่น มงกกุฎ เข็มขัด และต่างหู
นอกจากนี้ยังมีโถขนาดใหญ่ที่น่าจะเป็นของที่มาจากศตวรรษที่ 11 และถึงแม้ว่ามันจะยังไม่ได้รับการยืนยันที่ชัดเจนจากที่ใด แต่ดูเหมือนว่าเป็นถ้วยที่ทำจากทองคำแท้ กลุ่มของผู้เชี่ยวชาญเลยตั้งข้อสังเกตว่า มันอาจจะเป็นโถข้าวของสมาชิกราชวงศ์เขมรในสมัยเมืองพระนคร
มงกุฎอันนี้มันมีลักษณะเหมือนกับของโบราณที่มาจาก pre-Angkorian period ดังนั้นมันเลยทำให้ผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่า ของมีค่าเหล่านี้มันน่าจะเป็นฝีมือของช่างศิลป์ในศตวรรษที่ 7 นอกจากนี้ยังมีรูปปั้นดอกไม้ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญยังไม่ทราบว่ามันใช้สำหรับทำอะไรสร้างขึ้นมาจากอะไร
จนถึงตอนนี้ยุคสมัยใหม่แล้วก็ยังไม่มีใครสามารถบอกได้อย่างชัดเจนว่าทรัพย์สมบัติมากมายพวกนี้มันถูกขโมยมาได้อย่างไรและมันถูกนำมาตั้งแต่ตอนไหน และถูกส่งต่อมายังกรุงลอนดอนได้อย่างไร เพราะเครื่องประดับหลายชิ้นมีลักษณะเหมือนรูปแกะสลักที่กำแพงปราสาทนครวัด ที่น่าจะถูกลักลอบขโมยไป
วัตถุโบราณมากมายหลายอย่างหายไปอย่างไรร่องรอยในช่วงที่ Cambodia ตกเป็นพื้นที่ของชาวฝรั่งเศส อย่างไรก็ตาม ปราสาทหลายแห่งขอ Cambodia ถูกขโมยโบราณวัตถุในสมัยการปกครองของ Khmer Rouge ช่วงทศวรรษที่ 1970 และในช่วงที่เกิดความไม่สงบในประเทศหลายสิบปีหลังจากนั้น
Dr. Sunetra Seng นักโบราณคดีที่ทำการดู jewelry และ gems ยุค Angkorian period จาก ancient carvings ของชาวขอมเป็นคนหนึ่งที่มีโอกาสได้เห็นมันกับตาที่ค้นพบในอังกฤษ เธอบอกว่าเครื่องประดับเหล่านี้พิสูจน์ให้เห็นว่าสิ่งที่อยู่บนภาพสลักและข่าวลือต่าง ๆ นั้นเป็นความจริง Cambodia มีอดีตอันร่ำรวย
เครื่องประดับบางชิ้นที่พบในครั้งนี้ผู้คนจำนวนไม่น้อยเคยพบเห็นผ่านหูผ่านตา โดย Douglas A.J. Latchford ได้เผยแพร่ภาพเครื่องประดับโบราณ 5 ชิ้น ในหนังสือ Khmer Gold ที่เขาเป็นผู้เขียนร่วมในปี 2008 ศาสตราจารย์ Ashley Thompson จาก SOAS University of London บอกว่า หนังสือเล่มดังกล่าวเป็นเหมือนโบรชัวร์
หรือมันอาจจะเป็นคู่มือให้เหล่า antique collector ได้เห็นว่า เบื้องหลังมีการโจรกรรมแอบจำหน่ายวัตถุโบราณมีอะไรบ้าง ทางการกัมพูชาเชื่อว่า ยังมีเครื่องประดับและอัญมณีสมัยเมืองพระนครที่ถูกขโมยไปอีกจำนวนมากที่ยังไม่ได้รับการค้นพบ ก่อนหน้านี้พบหลักฐานจากอีเมลของ Latchford ที่บ่งชี้ว่า
เขาพยายามแอบจำหน่ายเครื่องประดับที่ค้นพบชุดนี้จากที่กักเก็บในพื้นที่ตอนเหนือของกรุงลอนดอนจนถึงปี 2019 ทาง BBC บีสอบถามไปยัง Metropolitan Police London ว่ามีการสืบสวนเพื่อเอาผิดต่อผู้ร่วมขบวนการของ Douglas A.J. Latchford ได้ในสหราชอาณาจักรด้วยหรือไม่ แต่ตำรวจปฏิเสธที่จะให้ข้อมูลเรื่องนี้
เมื่อปีมีบทสัมภาษณ์จากผู้เคยร่วมขบวนการขโมยวัตถุโบราณแล้วนำไปขายให้ Douglas A.J. Latchford ซึ่งจากการตรวจสอบพบว่าวัตถุโบราณหลายรายการตกอยู่ในความครอบครองของ Victoria Museum และ Albert (V&A) และ the British Museum
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์