Friday, 22 November 2024

วิกฤตชีวิตและสิทธิที่ยังไม่เทียบเท่าผู้ชาย ของ “ผู้หญิง” ทั่วโลก

19 Mar 2023
235

วิกฤตชีวิตและสิทธิ ของ “หญิงสาว” ทั่วโลก ที่ต้องพบเจอความยากลำบากหลายอย่างหลายทาง เพราะยังไม่ได้รับความเท่าเทียม “ผู้ชาย” เพียงเพราะถูกมองว่าเป็นผู้หญิง ไลฟ์สไตล์ ซึ่งเรื่องนี้นั้นยังเป็นประเด็นที่ถูกนำมาพูดถึงอยู่ทุกยุคทุกสมัย ไม่ว่าวันเวลาจะผ่านไปนานแค่ไหนปัญหานี้ก็ยังเกิดขึ้นเป็นประจำ

สล็อต xo Slotxo

วิกฤตชีวิตและสิทธิ ของ “ผู้หญิง” ทั่วโลกต้องพบเจอ เพียงเพราะถูกมองว่าเป็นผู้หญิง

วิกฤตชีวิตและสิทธิ ของ “ผู้หญิง” ทั่วโลก

บนโลกใบนี้มีหลายพื้นที่ที่หญิงสาวนั้นสามารถได้รับโอกาสที่เท่าเทียมกับชายหนุ่ม ทั้งในด้านหน้าที่การงานการศึกษาและด้านอื่นๆ ซึ่งความเท่าเทียมนั้นสามารถทำให้ช่องว่างทางเพศถูกลดทอนลงได้สำเร็จไปอีกขั้น แต่ในทางกลับกันก็ยังมีหญิงสาวอีกหลายพื้นที่ที่ต้องพบเจอกับความลำบากยากเย็นแสนเข็ญในการใช้ชีวิต

ท่ามกลางปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมที่บีบบังคับให้หญิงสาวจำนวนมหาศาลไร้ทางสู้ เพียงเพราะถูกมองว่าเป็นผู้หญิง นับตั้งแต่รัฐบาล Taliban หวยคืนกลับมากุมอำนาจ Afghanistan ก็ตกเป็นหนึ่งเดียวในโลกที่เด็ก และหญิงสาวถูกบังคับห้ามเข้ารับการศึกษาจากทุกที่ที่ให้ความรู้ได่ด้วยเหตุผลที่ว่าพวกเธอนั้นคือ “ผู้หญิง”

การเสียชีวิตของ Mahsa Amini หญิงสาวชาวอิหร่านวัย 22 ปี ที่เธอนั้นถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจด้านศีลธรรมควบคุมตัวไป เพียงเพราะเธอนั้นไม่ได้สวมฮิญาบหรือ ผ้าคลุมหน้าออกไปข้างนอกบ้านเหตุการณ์ดังกล่าวนั้นส่งผลทำให้เกิดการประท้วงใหญ่ระเบิดไปทั่วประเทศอิหร่านอย่างที่ไม่มีใครคาดคิดมาก่อน

วิกฤตชีวิตและสิทธิที่ยังไม่เทียบเท่าผู้ชาย ของ “ผู้หญิง” ทั่วโลก

ภาวะสงครามส่งผลกระทบต่อเพศหญิงและเด็กอย่างหนักหนาสาหัส โดยเฉพาะสงครามล่าสุดที่เกิดขึ้นระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ที่ผู้หญิงและเด็กชาวยูเครนตกเป็น “เหยื่อผู้น่าสงสาร” ผู้ที่ต้องมารองรับความเลวร้ายและความรุนแรงของสงครามที่ไม่สามารถหลบหรือปฎิเสธได้เลย

เมื่อปี 2022 ที่ผ่านมา ผลการสำรวจพบว่าเด็ก-วัยรุ่น-ผู้ใหญ่-คนแก่-ที่เป็นผู้หญิงสาวชาวยูเคน มากกว่าสี่ล้านคนนั้นถูกบังคับให้ทำการ “ขลิบ” เพราะเชื่อว่าการกระทำดังกล่าวนั้นจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้หญิง ทั้งการรักษาความสะอาด และเป็นการควบคุมความอยากความต้องการเรื่องเพศของผู้หญิง

ในประเทศ Yemen พบว่าทุก 2 ชั่วโมง จะมีผู้หญิงตายเพราะการคลอดลูกจำนวนมาก และมีผู้หญิงมากกว่าร้อยละ 65 เปอร์เซ็นต์ของประเทศ South Sudan เคยถูกล่วงละเมิดทางเพศ หรือถูกกระทำความรุนแรง ขณะที่ประเทศ Nigeria  มีเด็กผู้หญิงอายุไม่ถึง 18 ปี มากกว่า ร้อยละ 45 เปอร์เซ็นต์ ถูกกดดันให้มีครอบครัว

เพียงเพราะถูกมองว่าเป็นผู้หญิงเลยไม่ได้รับความเท่าเทียม

สิทธิเด็กและผู้หญิงกลายเป็นเรื่องที่คนทั่วโลกในทุกพื้นที่ให้ความสำคัญ และมีความพยายามในการหาทางช่วยเหลือ ด้วยการจับมือกันสร้างสังคมแห่งความเท่าเทียมทางเพศให้เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้หญิงในทุกๆพื้นที่บนโลกใบนี้ได้มีโอกาสได้เข้าถึงความเท่าเทียมกับผู้ชาย และสามารถลดช่องว่างทางเพศในพื้นที่ทางการศึกษาการทำงา หรือสังคมได้สำเร็จ

แต่ความเป็นจริงแล้วยังมีผู้หญิงอีกจำนวนมหาศาลที่ต้องใช้ชีวิตด้วยความยากเย็นแสนเข็ญ อยู่ท่ามกลางปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมที่บีบบังคับให้พวกเธอไม่มีหนทางสู้ เพียงเพราะพวกเธอนั้นใช้สถานะว่า “ผู้หญิง” ดังนั้นในวันนี้เราได้นำเรื่องราวของหญิงสาวจากหลายพื้นที่ทั่วโลกที่พิสูจน์ให้เห็นว่า “สิทธิที่ไม่เท่าเทียมกัน” ยังคงอยู่ และต้องการการแก้ไขอย่างเร่งด่วน

Afghanistan เอาเปรียยบผู้หญิง

Afghanistan

Afghanistan คือหนึ่งในประเทศที่ประเด็น “สิทธิผู้หญิง” นั้นถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นปัญหา และทั่วโลกก็กำลังจับตามองไม่ให้คาดสายตา หลังจากกลุ่ม “Taliban” สามารถยึดครองอำนาจไปกุมเอาไว้ได้อีกครั้งเมื่อปี 2021 ที่ผ่านมา และประกาศใช้แผนการที่ยึดครองสิทธิของผู้หญิงและเด็กผู้หญิงอย่างรุนแรง ทั้งเรื่องการเรียนการทำงานการกายการใช้ชีวิตในทุกๆด้านทุกๆวัน รวมไปถึงการมีส่วนเกี่ยวข้องทางการเมืองของหญิงสาว

เริ่มตั้งแต่รัฐบาล Taliban ครอบครองอำนาจการปกครองของประเทศ พวกเขาได้บังคับไม่ให้นักเรียนผู้หญิงชั้นมัธยมศึกษาไปโรงเรียน ส่งผลให้เด็กนักเรียนหญิงมากกว่า 3,500,000 คน ทั่วประเทศไม่สามารถไปเข้าโรงเรียนเพื่อหาความรู้ได้ เหมือนกันกับการสั่งห้ามนักศึกษาหญิงไม่ให้เข้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัย

ซึ่งมันทำให้ Afghanistan กลายเป็นหนึ่งเดียวในโลก ที่เด็กผู้หญิงและผู้หญิงถูกบังคับไม่ให้ได้เข้ารับการศึกษาหาความรู้จากโรงเรียนและมหาวิทยาลัย เพียงเพราะพวกเขาเหล่านั้นคือ “ผู้หญิง” ซึ่งมันคือการทำลายความฝันของผู้หญิง Afghanistan หลายล้านคน ที่อยากได้รับการศึกษาและมีหน้าที่การงานที่มั่นคง

การดำเนินชีวิตในแต่ละวันของหญิงสาวชาว Afghanistan นั้นมีความยากลำบากแสนเข็ญมากยิ่งขึ้น เมื่อทางการ Taliban สั่งห้ามหญิงสาวเดินทางเพียงลำพัง ดังนั้นการจะเดินทางไปสถานที่ต่าง ๆ ของหญิงสาวจำเป็นต้องมีผู้ชายคนใดคนหนึ่งในครอบครัวเดินทางไปด้วย เหมือนกันกับการสั่งห้ามไม่ให้ผู้หญิงเข้าไปในสวนสาธารณะ ศูนย์กีฬา หรือห้องอาบน้ำสาธารณะ

ความเข้มงวดกับผู้หญิงนั้นไม่ได้หมดไปเท่านั้น เพราะทางการ Taliban นั้นยังบังคับให้หญิงสาวทุกคนนั้นคลุมใบหน้าด้วยผ้าทุกครั้งเมื่อฃปรากฏตัวในสื่อ ก่อนจะประกาศให้ผู้หญิงทุกคนต้องปกคลุมในหน้าและปกคลุมร่างกายของตัวเองทุกครั้งเมื่อพงกเธอนั้นไปอยู่ในพื้นที่สาธารณะ

กลุ่มของหญิงสาวชาว Afghanistan และนักเคลื่อนไหวเรื่องสิทธิมนุษยชน ต่างออกมาประท้วงให้มีการเปลี่ยนแปลงข้อบังคับที่ตัดทอนสิทธิและเสรีภาพของผู้หญิงใน Afghanistan จนมีการเดินขบวนประท้วงเกิดขึ้น แต่ก็มักจะถูกทางการ Taliban ใช้ความรุนแรงเข้าจัดการ และนำไปสู่การทำร้ายร่างกายกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงและนักเคลื่อนไหว

ความเท่าเทียมของผู้หญิงไม่มีอยู่จริง

Iran

Iran เป็นอีกหนึ่งประเทศสร้างกฎหมายและข้อบังคับที่ตัดทอนสิทธิ และเสรีภาพขั้นพื้นฐานของหญิงสาวในประเทศ โดยเฉพาะเรื่องการสวมใส่เสื้อผ้าของหญิงสาวชาวอิหร่าน ที่กลายเป็นต้นต่อเกิดเรื่องทำให้ผู้คนลุกฮือขึ้นประท้วงไปทั่วประเทศ ในช่วงปี 2022 ที่ผ่านมา ถือเป็นการแสดงพลังที่ทรงพลังมากที่สุดในรอบหลายสิบปี และทำให้มีคนตายจากการประท้วงมากกว่าร้อยคน

การเสียชีวิตของ Mahsa Amini หญิงสาวชาวอิหร่านวัย 22 ปี ที่เธอนั้นถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจด้านศีลธรรมควบคุมตัวไป เพียงเพราะเธอนั้นไม่ได้สวมฮิญาบหรือ ส่งผลทำให้เกิดการเรียกร้องสิทธิ์ขั้นรุนแรง ลุกลามไปทั่ว Iran ชนิดที่ไม่เคยมีใคคาดเดาเอาไว้เลย เพราะมันผสมโรงเข้ากับความไม่พอใจระบอบเผด็จการอำนาจนิยมเป็นทุนเดิม ทั้งระบบโครงสร้างการเมือง

พฤติกรรมที่ชั่วร้ายและการใช้ความรุนแรงกับผู้คนของเจ้าหน้าที่ที่ทางการส่งตัวมา และวัฒนธรรมที่เอาผู้ชายเป็นหลักในสังคม Iran ก็ทำให้กลุ่มหญิงสาวชาว Iran ตัดสินใจออกมาประท้วงขยายใหญ่ไปทั่ว Iran ประเภทที่ไม่เคยมีใครคาดเดาเอาไว้เลย และแสดงออกให้เห็นพฤติกรรมของหญิงสาวที่ “หมดความอดทน” กับระบอบชายเป็นใหญ่

“หมดความอดทน” กับระบอบชายเป็นใหญ่

ที่กระทำตอบสนองกับหญิงสาวเหมือนกับว่าพวกเธอนั้นคือ “สมบัติ” ของพ่อและสามี รวมทั้งบังคับกำหนดกฎในการเดินทางไปไหนมาไหน การศึกษา การทำงาน การแต่งงาน หรือแม้แต่สิทธิในการสวมใส่เสื้อผ้าของผู้หญิง ภายใต้คำคมที่บอกว่า “สตรี ชีวิต และเสรีภาพ”

การชุมนุมประท้วงที่เกิดขึ้นทุกพื้นที่ไม่ได้มีแค่หญิงสาวเท่านั้นที่ออกมากระท้วง เพราะมีผู้ชายจำนวนมากเข้ามาร่วมประท้วงด้วย ว่าพวกเขานั้นไม่ได้ต้องการอยากอยู่ภายใต้การควบคุมระบบการปกครองแบบเผด็จการ แต่ถ้าว่าทางการ Iran ก็ได้ใช้กำลังรุนแรงหยุดการประท้วงอย่างรวดเร็ว รวมถึงมีการลงโทษผู้ประท้วงอย่างโหดเหี้ยม ทั้งการทรมาณร่างกายและฆ่าทิ้ง

ความเลวร้ายนั้นไม่จบแค่เท่านั้นเพราะจากการเคลื่อนไหวประท้วงและเรียกร้องสิทธิของประชาชน ส่งผลให้เด็กนักเรียนหญิงมากมายแทบทุกพื้นที่นั้น “ถูกวางยาพิษ” โดยมีอาการทางเกี่ยวกับเดินหายใจ คลื่นไส้ ปวดหัว แต่ยังหาสาเหตุที่แท้จริงได้ เหมือนกันกับที่ยังไม่สามารถจับกุมผู้กระทำความผิดได้ แต่หลายคนนั้นก็มองถึงความเป็นไปได้ว่าอาจเป็นฝีมือของกลุ่มอิสลามที่ชั่วร้าน ที่ต้องการข่มขู่ให้ผู้ประท้วงรู้สึกหวาดกลัว

วิกฤตชีวิตและสิทธิ- ที่เกิดขึ้นในยูเครน

ยูเครน

สงครามรัสเซีย-ยูเครน นั้นเกิดขึ้นมานานมากกว่าหนึ่งปีไปแล้ว แน่นอนว่ามันส่งผลเสียต่อประชาชนคนยูเครนอย่างหนักหนาสาหัส เพราะมีประชาชนคนยูเครนมากกว่า 8,000,000 คน ย้ายถิ่นฐานบ้านเกิดหนีสงครามไปอยู่ที่ชาติอื่นในยุโรป และมีประชาชนกว่า 6,000,000 คน ที่ยังอาศัยอยู่ภายอยู่ที่บ้านเกิดเดิม โดยในจำนวนนี้ มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ คือกลุ่มเด็กและผู้หญิง

ภาวะสงครามส่งผลกระทบต่อผู้หญิงและเด็กหนักหนาสาหัส เพราะพวกเขานั้นตกเป็นเหยือสุดน่าสงสาร ที่ต้องรองรับความโหดร้ายและความรุนแรงของสงครามที่ไม่ได้อยากให้เกิดแบบหนีไม่ได้ โดยสงครามรัสเซีย – ยูเครนที่เกิดขึ้นครั้งนี้ได้มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนกับเด็กและผู้หญิง ด้วยการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ทำร้าย และฆาตกรรมเหมือนกันกับเด็กที่ถูกทำร้ายและถูกลักพาตัวไป

ผลกระทบไม่จบแค่นั้นเพราะผู้หญิงยูเครนยังต้องพบเจอกับปัญหาเรื่องของสุขภาพที่ทรมานมาก เนื่องจากไม่มีการดูแลสุขภาพให้ประชาชนอย่างทั่วถึง ซึ่งมันส่งผลเสียต่อสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ รวมถึงปัญหาภาวะอดอยาก การเข้าถึงการศึกษา คุณภาพชีวิต และสุขภาพจิต ที่เป็นปัจจัยหลักสำคัญในช่วงภาวะสงคราม

วิกฤตชีวิตและสิทธิ-ที่เกิดขึ้นในเคนยา

เคนยา

ปิดท้ายด้วยอีกประเทศที่มีปัญหาเหมือนกันกับสองประเทศที่ผ่านมา เพราะประเด็นเรื่องสิทธิสตรีเป็นปัญหาที่หลายฝ่ายทำให้เห็นว่าเป็นห่วงอย่างมาก โดยเฉพาะสิ่งที่ทำกันมาตั้งแต่สมัยโบราณเช่น “การขลิบอวัยวะเพศหญิง” เมื่อในปี 2020 ผลการสำรวจพบว่ามีเด็ก-ผู้ใหญ่-คนแก่หญิงมากกว่า 4,000,000 คน ถูกขลิบ เพราะเชื่อว่ามันมีประโยชน์ต่อผู้หญิงหลายๆด้าน ทั้งการรักษาความสะอาด และเป็นการระงับหยุดยั้งความต้องการทางเพศของผู้หญิง ทั้งเป็นการรับประกันกับสามีของผู้หญิงคนนั้น ๆ ว่าผู้หญิงที่ทำการขริบแล้วจะไม่นอกใจ

ไม่ใช่แค่ในประเทศเคนยาเท่านั้นที่เชื่อแบบนี้แต่ยังมีอีกหลายประเทศที่เชื่อเหมือนกัน โดยมีเด็กสาวมากกว่า 200 ล้านคน จากทั่วทุกมุมโลก เปิดเผยว่าเคยผ่านการขลิบมาแล้ว ซึ่งนั่นเป็นปัจจัยหลักด้านร่างกายและจิตใจของพวกเธอ ทั้งการมีเลือดออกอยู่ตลอดเวลา ภาวะติดเชื้อ ซีสต์ รวมทั้งปัญหาคลอดบุตรที่เป็นอันตรายถึงชีวิต

แม้จะมีความพยายามในการทำให้ความเชื่อดังกล่าวนั้นยุติลง แต่ข้อมูลจาก United Nations ก็ยังแสดงให้เห็นว่าสถิติการขลิบอวัยวะเพศของผู้หญิงจากทั่วทุกมุมโลก นั้นไม่ได้ลดลงเลยจากสถิติเมื่อ 30 ปีที่ผ่านมา ซึ่งมันทำให้เห็นว่าวัฒนธรรมที่ยังคงกดทับและควบคุมเนื้อตัวร่างกายของผู้หญิงในหลายสังคมทั่วโลกยังไม่จางหายไป

นี่เป็นเพียงตัวอย่างการตัดทอนสิทธิของผู้หญิงบางประเทศแต่เท่านั้น และการกระทำดังกล่าวนั้นมันส่งผลกระทบต่อชีวิตของผู้หญิงมากมายมหาศาล อย่างไรก็ตามเรื่องสิทธิและเสรีภาพผู้หญิงของโลกยังเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องให้ความสำคัญ และช่วยกันหาทางออก เพื่อสร้างสังคมที่เคารพสิทธิความเป็นมนุษย์ของทุกคน ทุกเพศ และทุกวัย

ติดตามข่าววิกฤตชีวิตและสิทธิ-ได้ที่นี่ 

สามารถติดตามข่าวสารสดใหม่ทุกวันได้ที่นี่