ถ่ายไม่สุดบอกโรค ที่ไม่ควรละเลยและมันอาจส่งผลให้รู้สึกไม่สบายท้องปวดได้ตลอดทั้งวัน Tenesmus อีกหนึ่งปัญหาสุขภาพที่หลายคนมักมองข้าม บอกเลยใครที่รู้สึกว่าตัวเองมีอาการแบบนนี้อยู่ต้องดูห้ามพลาดเด็ดขาด เพราะว่าในวันนี้เรามีเรื่องราวสุดน่ารู้เกี่ยวกับ Tenesmus มาฝาก
ถ่ายไม่สุดบอกโรค ที่ไม่ควรละเลยแถมอาจส่งผลให้รู้สึกไม่สบายท้องได้
อาการปวดท้องและอาการรู้สึกว่าไม่สบายท้องนั้นเชื่อว่าทุกคนเคยประสบพบเจออย่างเช่นการถ่ายไม่สุดที่เรานำมาให้ทุกคนได้ดู บอกเลยว่าเวลาที่เรานั้นถ่ายไม่สุดนั้นมักจะมีปัญหาหลายๆอย่างตามมา และบางคนนั้นก็พยายามที่จะเบ่งให้มันออกมาให้หมด แต่ถ้าว่าผลที่ตามมานั้นมันอาจทำให้อาการปวดและอาการไม่สบายท้องเกิดขึ้นตามาทีหลัง การถ่ายไม่สุดนั้นไม่ได้จัดให้เป็นโรคที่ต้องรักษาโดยตรง แต่อาจเป็นอาการที่บอกเป็นในๆว่าบุคคลที่มีอาการนั้นอาจเสี่ยง Inflammatory Bowel Disease หรือเรียกกันว่าเป็นโรคลำไส้อักเสบเรื่องรัง ซึ่งโรคนี้มันเกิดขึ้นจากความผิดปกติของกล้ามเนื้อและเส้นประสาทบนร่างกายที่ทำหน้าที่ควบคุมการขับถ่าย ซึ่งคาดการว่ามันเกิดการอักเสบและติดเชื้อ ไปจนถึงโรคมะเร็งบางชนิด
ถ่ายไม่สุดมีอาการอย่างไรมาเช็คกันตามนี้เลย
- รู้สึกอยากถ่ายอุจจาระบ่อยๆ
- รู้สึกไม่สบายท้อง
- ต้องเบ่งเมื่อขับถ่าย
- ขับถ่ายอุจจาระแต่ละครั้งมีปริมาณน้อย
- รู้สึกว่าไม่สามารถถ่ายได้หมด
- รู้สึกอยากขับถ่ายเรื่อยๆ
- เจ็บบริเวณทวารหนัก
หากพบว่าอาการเหล่านี้ที่ว่าเมื่อข้างต้นไม่หายขาด และรู้สึกปวดท้องและมีไข้แนะนำว่าให้คุณควรรีบไปพบแพทย์เฉพาะทางเพื่อรับการรักษาโรคได้อย่างถูกต้อง
สาเหตุของการถ่ายไม่สุดอาจมาจาก…..
- โรคโครห์น(Crohn’s Disease)
- โรคลำไส้อักเสบ(Ulcerative Colitis)
- แผลในลำไส้
- การอักเสบและติดเชื้อ
- หนองในแท้ (Gonorrhea)
- หนองในเทียม (Chlamydia)
- ซิฟิลิส (Syphilis)
- ฝีที่ก้น (Anorectal Abscess)
- โรคฝีคัณฑสูตร(Anal Fistula)
- ภาวะไส้ตรงปลิ้น(Rectal Prolapse)
- ริดสีดวงทวาร (Hemorrhoid)
- ภาวะลำไส้ขาดเลือด (Ischemic Colitis)
- โรคกระเพาะอาหาร
- ลำไส้เล็กอักเสบ (Gastroenteritis)
- โรคถุงผนังลำไส้อักเสบ (Diverticulitis)
- โรคเซลิแอค (Celiac Disease)
ความผิดปกติของเส้นประสาทควบคุมการขับถ่าย
ความผิดปกติของเส้นประสาทที่ในส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมการขับถ่ายอาจส่งผลเสียทำให้ร่างกานนั้นให้เกิดอาการท้องผูก ท้องท้องร่วง และการถ่ายไม่สุดได้ถ้าหากว่าเกิดการอักเสบในระบบทางเดินอาหารและเมื่อเป็นเช่นนั้น สมองของเราก็อาจเข้าไปทำหน้าที่กระตุ้นให้เส้นประสาทในส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมการขับถ่ายทำงาน ซึ่งมันจะส่งผลทำให้เรารู้สึกว่าต้องการถ่ายอุจจาระ ซึ่งมันคือผลมาจากการที่กล้ามเนื้อลำไส้ที่ควบคุมการขับถ่ายมันได้ทำการบีบตัว และเข้าไปกระตุ้นให้เรารู้สึกอยากขับถ่ายแม้จะไม่มีอุจจาระตกค้างในลำไส้ของเราก็ตาม
ถ่ายไม่สุดรักษาได้อย่างไร
การรักษาอาการถ่ายไม่สุดนั้นจะขึ้นอยู่กับสาเหตุและอาการของผู้คนที่ประสบพบเจอ โดยแพทย์จะวินิจฉัยโรคจากการสอบถามอาการเบื้องต้นไปจนถึงประวัติการรักษาและประวัติสุขภาพของบุคคลนั้นๆและครอบครัว หลังจากนั้นแพทย์ก็จะทำการตรวจทวารหนักด้วยนิ้วมือ และก็จะทำการตรวจบริเวณช่องท้องเป็นขั้นตอนต่อมา และอาจจะให้ตรวจด้วยวิธีอื่นเพิ่มเติมร่วมด้วยในแต่ละครั้งอย่างเช่น
- การตรวจเลือด
- การตรวจอุจจาระ
- การส่องกล้องตรวจระบบทางเดินอาหาร (Endoscopy)
- ตรวจทางทวารหนักด้วยนิ้วมือ (Digital Rectal Exam)
- การส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ (Colonoscopy) แ
- การถ่ายภาพรังสี
ในส่วนวิธีการรักษาโรคบางชนิดอย่างเช่นพวกโรคท้องผูกกับโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง ที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติของการทำงานในส่วนระบบทางเดินอาหาร ซึ่งอาจรักษาได้ด้วยวิธีง่ายๆได้แบบไม่ต้องใช้ยาอย่างเช่น การปรับพฤติกรรมการกินอาหารและการดื่มน้ำ รวมทั้งฝึกการขับถ่ายให้เป็นเวลาด้วยการขับถ่ายเมื่อรู้สึกปวดจริงๆ และไม่นั่งและไม่เบ่งอุจจาระ แต่ถ้าหากว่าการปรับพฤติกรรมที่ว่ามาเมื่อข้างต้นไม่ช่วยให้อาการต่างๆนั้นดีขึ้นมาหรืออาการถ่ายไม่สุดเกิดจากโรคที่ต้องใช้ยารักษานั้นรักษาไม่หาย แพทย์อาจให้รับประทานยาเพื่อรักษาโรคอาทิเช่น
- ยาระบาย
- ยาปฏิชีวนะ
- ยาต้านการอักเสบ
- ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroids)
- ยาอะมิโนซาลิไซเลต (Aminosalicylates)
- ยาปรับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน
สำหรับผู้ป่วยบางรายรักษาด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผลอาจจะต้องได้เข้ารับการผ่าตัด ส่วนผู้ป่วยที่ว่านั้นอาจมีโรคประจำตัวบางอย่างอย่างเช่น
- ผู้ที่มีภาวะไส้ตรงปลิ้น
- ฝีที่ก้น
- ริดสีดวงทวาร
- ผู้ป่วยมะเร็ง
ดังนั้นถ้าหากว่าเรานั้นถ่ายไม่สุดมันคืออาการที่เป็นภาวะที่ทำให้รู้สึกอยากขับถ่าย ถึงแม้จะไม่มีอุจจาระติดค้างในลำไส้ ซึ่งอาการเหล่านั้นที่ว่ามานี้มันก็ส่งผลรบกวนการใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมากมายโดยเฉพาะเวลาที่ต้องเดินทาง ทั้งนี้ภาวะถ่ายไม่สุดก็สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ และถ้าหากเราเข้ารับการวินิจฉัยอย่างเหมาะสมกับแพทย์เฉพาะทางตั้งแต่เนิ่น ๆ จะทำให้รักษาโรคต่างๆ ที่เป็นสาเหตุของอาการถ่ายไม่สุดรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์