Friday, 3 May 2024

วีเจจ๋า เล่าประสบการณ์หลังตรวจพบเจอ ภาวะ Amyloidosis โรคที่เรียกได้ว่าเสี่ยงอันตรายหรือฆาตกรตัวร้ายที่มองไม่เห็น

06 May 2022
332

ภาวะ Amyloidosis โรคที่เรียกได้ว่าเสี่ยงอันตรายหรือฆาตกรตัวร้ายที่มองไม่เห็นวีเจจ๋า เล่าประสบการณ์การหลังตรวจพบเจออะไมลอยด์โดสิสโรคหายาก ซึ่งเกิดขึ้นน้อยมากที่ประเทศไทยและนี้ถือว่าแป็นหนึ่งโรคที่อันตรายที่เกิดขึ้นจากปัญหาสุขภาพเล็กๆน้อยเพียงเท่านั้น

สล็อต xo Slotxo

ภาวะ Amyloidosis โรคที่เรียกได้ว่าเสี่ยงอันตรายหรือฆาตกรตัวร้ายที่มองไม่เห็น

ภาวะ Amyloidosis-โรคหายาก

เมื่อไม่นานมานี่นักแสดงสาวสวยอย่าง วีเจจ๋า ณัฐฐาวีรนุช ทองมี ได้เล่าย้อนถึงอาการป่วยของเธอที่มีจุดเริ่มต้นจากอาการเล็กๆน้อยๆที่หลายคนนั้นมักมองข้ามอย่างอาการแสบคอตอนหายใจในอากาศที่เย็นๆ หลังจากนั้นไม่นานเธอได้ไปพบคุณหมอ และตรวจพบว่ามีภาวะ Amyloidosis ซึ่งมันมันคือโรคที่ค่อนข้างหายากมากที่สุดในประเทศไทยซึ่งมีเคสจำนวนน้อยนิด

และถ้าหากมีอาการหนัก มันอาจส่งผลให้เรานั้นเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตได้เลย หลังจากอาการป่วยที่เกริ่นมาเมื่อสักครู่เธอก็ได้เข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัดทอนซิลทั้ง 2 ข้าง และคุณหมอนั้นได้นำติ่งเนื้อต่อมทอนซิลของเธอไปตรวจซ่ำอีกหนึ่งครั้ง จนกระทั่งเธอหายดีเป็นอาการกลายปกติ และการตรวจไม่พบเชื้อ Amyloid ในส่วนอื่นๆ ของร่างกายของเธอแล้ว

โรคที่เรียกได้ว่าเสี่ยงอันตรายหรือฆาตกรตัวร้ายที่มองไม่เห็น

Amyloidosis (อะไมลอยด์โดสิส) 

โรคนี้ถือว่าเป็นโรคหายาก ซึ่งมันสามารถพบได้ประมาณ 1 ในแสนคนเท่านั้น โรคนี้นั้นมีรสาเหตุเกิดขึ้นมาจากการที่ร่างกายสร้างโปรตีนอะมีลอยด์ในปริมาณที่มากจนเกินไป และมันมากจนเข้าไปสะสมตามเนื้อเยื่อส่วนต่างไของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าอย่างเช่น ตับ ไต หัวใจ และระบบประสาท เมื่อมันมีจำนวนมากจนเกินไปมันก็เลยส่งผลให้การทำงานของระบบต่างๆในร่างกายตามในส่วนอวัยวะที่สำคัญเกิดความผิดปกติขึ้นได้ ซึ่งโรคอะไมลอยด์โดสิสนี้นั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ ตามสาเหตุของการเกิดโรคต่างๆได้แก่

1.AL amyloidosis 

ชนิดนี้ถือว่าเป็นชนิดที่พบได้มากที่สุด ซึ่งมันมีสาเหตุเกิดขึ้นมาจากความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวชนิด plasma cell ใส่วนนไขกระดูก ซึ่งในส่วนนี้นั้นมีการสร้างโปรตีนที่ช่วยปกป้องร่างกายที่มากผิดปกติ ซึ่งโปรตีนตัวนี้เรียกกันว่า immunoglobulin light chain  และสุดท้ายมันก็จะส่งผลเสียหลายๆอย่างต่ออวัยวะต่างๆของทั่วร่างกายอาทิ ตับ และเส้นประสาท

2.ATTR amyloidosis แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทย่อย คือ

Wild-type amyloidosis

  • เกิดจากตับสร้างโปรตีน TTR
  • สร้างในปริมาณที่มากกว่าปกติ
  • แถมสร้างโปรตีน amyloid ได้มากแบบไม่ทราบสาเหตุ
  • มักเกิดขึ้นกับคนที่มีอายุมากกว่า 70 ปีขึ้นไป
  • มักพบเจอที่อวัยวะสำคัญญอย่างเช่น หัวใจ

Hereditary amyloidosis

  • เกิดจากความผิดปกติของยีน
  • ส่งผลให้ตับสร้างโปรตีน transthyretin
  • สร้างออกเยอะมากผิดปกติ
  • ส่งผลให้เส้นประสาท
  • หัวใจ
  • ไตทำงานผิดปกติ

3.AA amyloidosis 

  • เกิดจากโรคเรื้อรังที่ส่งผลให้ร่างกายเกิดการอักเสบอย่างต่อเนื่อง
  • เช่น โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
  • amyloid A สะสมในร่างกายตามอวัยวะต่างๆ
  • ไต
  • ตับ
  • ม้าม

4.Amyloidosis ชนิดอื่นๆ เช่น

  • ฟอกไตระยะยาว (dialysis-related amyloidosis)
  • ถ่ายทอดผ่านทางพันธุกรรม (Hereditary amyloidosis)
  • เกิดที่อวัยวะใดอวัยวะหนึ่งแต่ไม่ลาม (organ-specific amyloidosis)

อาการของโรค AL amyloidosis

อาการของโรค AL amyloidosis

Amyloidosis ถือว่าเป็นโรคที่ส่งผลเสียที่ไม่ค่อยจะดีมากนักในหลายๆอย่างและหลายๆส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์เรา ซึ่งมันมักแสดงอาการได้หลากหลายรูปแบบแต่ไม่เฉพาะเจาะจง เช่น

1.มีโปรตีนรั่วออกมาในปัสสาวะ

  • หากมีการรั่วออกกมาเยอะมากจะส่งผลให้ตัวบวม เท้าและข้อเท้าบวม

2.กล้ามเนื้อหัวใจหนาตัว

  • ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ
  • ทำให้หัวใจบีบตัวได้น้อยลง

3.ปลายมือ ปลายเท้าชา

4.ลิ้นมีขนาดโตขึ้น

5.มีจ้ำเลือดผิดปกติตามร่างกาย

6.น้ำหนักตัวลดลงอย่างรวดเร็ว

7.ปวดท้อง

8.คลื่นไส้

9.เบื่ออาหาร