ยารักษาโรคซึมเศร้า อาจจะไม่ได้ทำให้ชีวิตดีขึ้นในการรักษา!! วิจัยชี้บางกรณีอาจส่งผลร้ายให้ผู้ป่วยได้มากกว่าที่เราคิด อีกหนึ่งปัญหาสุขภาพจิตใจที่หาทางรักษาได้ยากมากยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะในช่วงที่สถนการณ์บ้านเมือของเรานั้ยังเต็มไปด้วยโรคระบาดที่ไม่มีทีท่าว่าจะลดลงได้ในแต่ละวัน
ยารักษาโรคซึมเศร้า อาจจะไม่ได้ทำให้ชีวิตดีขึ้นในการรักษาวิจัยชี้บางกรณีอาจส่งผลร้ายได้
ในช่วงเวลาเวลาในตอนนี้ไม่ว่าประเทศไหน ๆก็ไม่อาจหลีกเหลี่ยงปัญหาโรคซึมเศร้าได้เลสักวัน โดยเฉาพะในช่วงที่โรคระบาดกำลังแพร่กระจายอย่างไม่มีทีท่าว่าจะลดลง และสิ่งที่เกิดขึ้นตามมานั้นก็คือปัญหาสุขภาพจิตและมันก็อาจยืดเยื่อให้กลามาเป็น “โรคซึมเศร้า” ได้ในอนคต
ทีมนักวิจัยจาก King Saud University ในเมืองริยาด เขตของประเทศซาอุดีอาระเบีย ได้ออกมาประกาศผลการวิจัยที่พวกเขานั้นค้นพบได้เมื่อไม่นานนี้ และเรื่องที่พวกเขาประกาศเชื่อว่าทำให้หลายคนนั้นกังวลใจอู่ไม่มากก็น้อยแน่นอน และสิ่งที่พวกเขานั้นได้ทำการค้นพบก็คือผลของ “ยาต้านโรคซึมเศร้า” ที่ทางการแพทย์นิยมใช้รักษาผู้ป่วยในยุคปัจจุบัน ซึ่งผลของมันนั้นทำให้หลาๆคนนั้นตกใจเพราะว่ายานี้นั้นไม่ได้ทำให้คุณภาพการใช้ชีวิตของผู้ป่วยที่ใช้ยานี้ในการรักษาดีขึ้นแต่อย่างใด ใช้มิหนำซ่ำในบางกรณียังส่งผลเสียให้มากกว่าผลดีอีกต่างหาก
ทีมนักวิจัยได้ทำการค้นพบความจริงที่ได้จากการตรวจสอบข้อมูล และการเฝ้าระวังผลการรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเป็นจำนวน 17.47 ล้านคนในสหรัฐอเมริกา ซึ่งการทดลองนี้ถูกจัดทำขึ้นในช่วงปี 2005-2015 ซึ่งมันมีแหล่งข้อที่มาอ้างอิงมาจากงานวิจัยภายในวารสารชื่อดังของต่างประเทศ PLOS One จากการสังเกตพวกเขาได้พบว่ามีผู้ป่วยจำนวน 57.6% ใช้งานยาต้านโรคซึมเศร้า ซึ่งผลของผู้ป่วยที่ใช้ยาในการรักษานั้นออกมาทำให้เห็นว่า มันเพิ่มระดับสุขภาพจิตให้ดีได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น ถึงแม้ว่ายาจะช่วยได้แต่คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยก็ไม่ดีดีขึ้นมามากกว่าผู้ป่วยที่ไม่ได้ใช้ยาในการรักษาเลยแม้แต่น้อย
ถึงแม้ว่าผลวิจัยจะออกมาเช่นนี้ การรักษาผู้ป่วยโรคนี้ก็ยังตองใช้ยาอยู่เช่นเคย ซึ่งมันไม่ได้หมายความว่า เราควรจะเลิกใช้ยาต้านโรคซึมเศร้าไปตลอด แต่ถ้าว่ามันก็อาจทำให้หลายๆฝ่ายต้องกลับมาคิดทบทวนให้ดีอีกครั้งว่า เราควรจะใช้ยาอย่างไรให้ได้ประสิทธิภาพและมีผลดีที่สุดมากที่สุดเท่าที่จะควรจะเป็น และที่เป็นเช่นนั้นเป็นเพราะว่า ในช่วงหลายปีหลังที่ผ่านมาเริ่มมีงานวิจัยหลายชิ้นงานชี้ให้เห็นถึงผลของการใช้ยาต้านโรคซึมเศร้าว่าอาจมีประสิทธิภาพน้อยกว่าวิธีการรักษาในแบบอื่นๆ ที่ดูแล้วผู้ป่วยอาจมีโอกาศเพิ่มคุณภาพชีวิตทีดีมากขึ้นกว่าเดิม
ดังนั้นหากเป็นไปได้ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้านี้หากเป็นไปได้จริงๆ ควรลดการพึ่งพาตัวยาในกรรักษาลง และควรใช้การรักษาแบบบำบัดในด้านอื่นๆให้มากแทน อย่างเช่นการทำกิจกรรมต่างๆกับสังคมมอาทิการออกกำลังกาย นอกจากนี้ทีมวิจัยยังได้ระบุเสริมเอาไว้ว่า “ถึงแม้ว่าเราจะยังต้องใช้ยาต้านอาการซึมเศร้าสำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้าในตอนนี้ แต่ถ้าว่ากรศึกษาค้นคว่าเพื่อประเมินผลกระทบที่แท้จริงในระยะยาว ทั้งทางเภสัชวิทยาและการรักษาแบบทางเลือกอื่นก็ยังคงเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมากกว่าหลายๆอย่างที่เคยมีมา
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์