Tuesday, 26 November 2024

4 ระยะความรุนแรงนิ้วล็อค ที่คนวัยทำงานประสบพบเจอในรูปแบบที่หลีกเลี่ยง “ไม่ได้”

11 Jul 2022
242

4 ระยะความรุนแรงนิ้วล็อค ที่คนวัยทำงานประสบพบเจอ เพราะนี่คือหนึ่งปัญหาสุขภาพที่หลีกเลี่ยง “ไม่ได้” ซึ่งอาการแบบไหนควรรีบพบแพทย์ตามระยะที่แพทย์แนะนำ! บอกเลยวันนี้มีคำตอบสำหรับคนที่กำลังเป็นกังวนในเรื่องนี้นั้นต้องดูห้ามพลาดเด็ดขาด

สล็อต xo Slotxo

ระยะความรุนแรงนิ้วล็อค แบบไหนควรรีบพบแพทย์ตามระยะที่แพทย์แนะนำ!

ระยะความรุนแรงนิ้วล็อค-แบบไหนควรรีบพบแพทย์

นิ้วล็อก คือหนึ่งในอาการที่สามารถพบได้ทั่วไปสำหรับคนวัยทำงานที่จำเป็นต้องใช้มือใช้นิ้วในการทำงานเป็นระยะเวลาที่นานๆ หรือสายงานที่จำเป็นจะต้องใช้มือกำแน่นๆเป็นเวลานานๆอยู่บ่อยครั้งหรือเป็นประจำ จนทำให้เกิดการอักเสบของปลอกหุ้มเอ็นบริเวณโคนนิ้ว

ระยะที่ 2 เริ่มมีการสะดุดเวลาขยับนิ้ว

สำหรับสายอาชีพเสี่ยงนิ้วล็อกมีดังนี้

1.พนักงานบริษัท

2.คนที่ต้องพิมพ์เอกสารจำนวนมาก

  • พิมพ์เอกสารเป็นเวลานาน

3.กราฟิกดีไซน์เนอร์

4.ทันตแพทย์

5.แม่บ้านที่ต้องซับผ้าเพราะ

  • บิดผ้าบ่อยๆ
  • หิ้งถุงหรือถังหนักๆ

6.คนงาน

  • คนสวน
  • ช่างไม้
  • ช่างฝีมือ

7.นักกีฬาที่ต้องใช้การจับอุปกรณ์ที่แน่น ๆ เช่น

  • เทนนิส
  • แบดมินตัน
  • ปั่นจักรยานภูเขา

8.คนที่ชอบเล่นมือถือ

  • แท็บเล็ต
  • คนที่ใช้การจับมือถือให้มั่นคง

ระยะความรุนแรงนิ้วล็อค-ที่ไม่ควรมองข้าม

อาการนิ้วล็อกเป็นยังไง…อาการนิ้วล็อกที่สังเกตได้อย่างง่ายดายเมื่อเบื้องต้นคือ

  • ปวดบริเวณฝ่ามือใกล้ๆ โคนนิ้ว
  • มักมีอาการนิ้วเคลื่อนที่ไม่สะดวก
  • มีอาการติด
  • มีการสะดุดเวลาขยับนิ้ว

4 ระยะความรุนแรง “นิ้วล็อก” แบบไหนควรรีบพบไปแพทย์อย่างเร่งด่วนโดยที่ไม่ต้องรอ..

ระยะที่ 1 มีอาการปวดบริเวณโคนนิ้วมือเวลาขยับ

ระยะที่ 1 มีอาการปวดบริเวณโคนนิ้วมือเวลาขยับ

  • แต่ยังไม่มีการสะดุดระหว่างการเคลื่อนไหวนิ้ว

ระยะที่ 2 เริ่มมีการสะดุดเวลาขยับนิ้ว

  • แต่ยังขยับได้อยู่

ระยะที่ 3 นิ้วติดล็อก

  • แต่ยังสามารถเหยียดออกได้
  • โดยการใช้มืออีกข้างช่วยแกะ

ระยะที่ 4 นิ้วติด

  • จนไม่สามารถขยับออกได้

การรักษาอาการนิ้วล็อกแต่ระยะที่พบเจอ

การรักษาอาการนิ้วล็อกแต่ระยะที่พบเจอ

ระยะความรุนแรงนิ้วล็อค-ที่คนวัยทำงานชอบเป็น

นิ้วล็อกระยะที่ 1-2 

  • สามารถกินยาแก้ปวด
  • ลดการใช้งานนิ้วมือให้น้อยลง และ
  • แช่น้ำอุ่น 10-20 นาที
  • พร้อมบำบัดด้วยคลื่นกระแทกได้
  • (ultrasound+shock wave)

นิ้วล็อกระยะที่ 3-4

  • แพทย์อาจพิจารณาให้ฉีดยาสเตียรอยด์
  • แพทย์อาจพิจารณาให้ผ่าตัดปลอกหุ้มเอ็น

วิธีป้องกันนิ้วล็อก

วิธีป้องกันนิ้วล็อก

  1. ไม่หิ้วหรือถือของหนักเกินไป
  2. ลดการรับน้ำหนักที่นิ้วมือ
  3. พักการใช้นิ้วมือเป็นระยะๆ ขณะทำงาน
  4. ออกกำลังกายยืดกล้ามเนื้อมือเป็นพักๆ
  5. แช่มือในน้ำอุ่นในช่วงเช้าๆ
  6. เมื่อต้องใช้มือจับสิ่งของแน่นๆ เช่น
  • การขุดดิน
  • การใช้ค้อน
  • การตีกอล์ฟ
  • ควรใช้ถุงมือหรือผ้านุ่มๆ พันรอบๆ
  • เพื่อลดแรงกดกระแทกต่อนิ้วมือ