Thursday, 19 September 2024

รู้เท่าทันโรค รู้จัก “โรคลมหลับ” นอนเท่าไรก็ไม่พอ เกิดจากอะไร?

15 Sep 2024
36

รู้เท่าทันโรค ไขปัญหาสุขภาพ เรียกได้ว่าหลายคนอาจจะมีอาการนอนเท่าไหร่ก็ไม่พอ เกิดความผิดปกติในร่างกายวันๆเอาแต่นอน แต่ตื่นขึ้นมารู้สึกว่าไม่สดชื่น รู้สึกอ่อนเพลีย นอนหลับเรื้อรัง นอนหลับเท่าไหร่ก็ไม่พอ คุณอาจจะเป็น “โรคลมหลับ” เราตามมาเช็กอาการได้เลย

สล็อต xo Slotxo

รู้จัก “โรคลมหลับ” นอนเท่าไรก็ไม่พอ เกิดจากอะไร?

รู้จัก _โรคลมหลับ

มาทำความทำความรู้จัก “โรคลมหลับ” เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่เรื้อรังของการนอนหลับมากเลยทีเดียว นั่นก็คืออาการง่วงนอนตอนกลางวันผิดปกติเป็นอย่างมาก และรู้สึกง่วงนอนโดยฉับพลันนั่นก็คืออยู่ดีๆก็ง่วงนอน การทำให้ตัวเองรู้สึกตื่นตัวอยู่กลายเป็นเรื่องที่ยาก

โรคลมหลับ นั้นมักจะเกิดจากอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ซึ่งเป็นการสูญเสียกล้ามเนื้ออย่างฉับพลันนั่นเอง นับได้เลยว่าเป็นอาการที่ถูกกระตุ้นโดยอารมณ์รุนแรง ทั้งนี้ยังไม่พบว่ามีวิธีการรักษา แต่สามารถปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของเรา และปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตและการใช้ชีวิตในประจำวัน

  • หลายคนอาจจะมีปัญหาหรือมีอาการง่วงนอนมากเกินไปหรือหลับในตอนกลางวัน โดยที่เรานั้นไม่สามารถฝืนตัวเองได้เช่น ในขณะรับประทานอาหาร ไม่ว่าจะเป็นการเรียน การทำงาน การประชุม หรือแม้กระทั่งเวลาขับรถ
  • เรียกได้เลยว่าเป็นอีกหนึ่งปัญหาแต่ถ้ารู้สึกง่วงอีกทั้งในระยะเวลา ไม่นานสามารถหลับได้อีกหลายครั้งในวันต่อไป
  • เผลอหลับร่วมกับมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงอาทิเช่น คอตก ล้มพัดลงกับพื้นเกิด ในขณะที่อารมณ์เปลี่ยนแปลงเช่นมีความเครียด หัวเราะ ตกใจ และเศร้า
  • ไม่สามารถขยับร่างกายได้ในช่วงตื่นนอนเรียกว่า ผีอำ ซึ่งเกิดภาพร้อนขณะกึ่งหลับกึ่งตื่น อาการเหล่านี้จะตามมาพร้อมอาการปวดหัว ซึมเศร้า หลงลืมค่ะ สติและอ่อนเพลีย

การใช้ยารักษาโรคหลับลม

โดยการใช้ยารักษานั้นนับได้ว่ามีวัตถุประสงค์ ทั้งนี้เพื่อลดอาการง่วงนอนในตอนกลางวัน และที่สำคัญนั้นเพิ่มความกระฉับกระเฉงความตื่นตัว ในร่างกายของเรา

  • กระตุ้นครั้งนี้ใช้ยากระตุ้น เพื่อให้ผู้ป่วยหรือกระตุ้นให้ดื่มในช่วงกลางวันโดยอาจจะมีผลข้างเคียงเช่นอาการวิตกกังวลปวดศีรษะและคลื่นไส้อาเจียนตามมา
  • ยาต้านเศร้า กลุ่มไตรไซคลิก แน่นอนว่าจะมีประสิทธิภาพ ในการรักษาโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง แต่อาจจะทำให้เกิดผลข้างเคียงมานั่นก็คือ อาการวิงเวียน ศรีษะ และปากแห้ง
  • ในขณะเดียวกันนั้นหากรับประทานยาเหล่านี้ ควรหลีกเลี่ยงยาตัวอื่นหรือผลิตภัณฑ์แก้แพ้ เพราะจะทำให้สมองเสื่อม หรือสมองตื่นตัวได้ช้า

การปรับเปลี่ยน

การใช้ชีวิตแน่นอนว่าสามารถจัดการได้ทุกคนเชื่อได้เลยว่าการปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตนั้น จะช่วยกำจัดอาการของโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้นแล้วการสร้างนิสัยการนอนหลับที่ดี และทำอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ นอนหลับและตื่นในเวลาใกล้เคียงกันทุกวัน ช่วงแรกอาจจะปรับได้ยาก แต่พอเวลานานไปคุณจะทำได้ดีเลยทีเดียว หลีกเลี่ยงการนอนดึกในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ เปลี่ยนห้องนอนให้เป็นสถานที่เหมาะสม แก่การนอนหลับพักผ่อน นั่งสมาธิ ฟังเพลงเบาๆ ก่อนเข้านอน หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ค่ะ

สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมสดใหม่ทุกวันได้ที่นี่

สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมสดใหม่ทุกวันได้ที่นี่