จากที่ทราบกันโดยพื้นฐาน อาการอ่อนเพลีย ที่เกิดขึ้นได้ในร่างกายเมื่อสะสมเป็นเวลานานอาจทำให้สุขภาพเสียได้ และอาการสะสมยาวนานถึง 6 เดือนขึ้นไป สาเหตุเกิดจาก 5 กลุ่มโรคที่ต้องระวัง
อาการอ่อนเพลีย เรื้อรังสะสม กายที่เหนื่อยล้า ลดประสิทธิภาพการทำงาน
อาการอ่อนเพลีย ในร่างกายไม่ได้อยู่ ๆ แล้วเกิดขึ้นเอง ทั้งนี้อาจเกิดจากปัจจัยหลายอย่างที่เช่น การดำเนินชีวิตหรือภาวะทางสุขภาพของร่างการ และปัญหาสุขภาพจิตเหตุ และที่สำคัญอาจเกิดมาจาก 5 กลุ่มโรคที่เราควรระวัง ดังนี้
1.โรคซึมเศร้า
2.โรคไทรอยด์
3.โรคหลอดเลือดหัวใจ
4.โรคโลหิตจาง
5.โรคเบาหวาน
การป้องกันการเกิดอาการอ่อนเพลีย
1.ให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ห้ามออกกำลังกายที่หนักหน่วงหรือเกินต่อกำลังเพราะอาจจะทำให้เหนื่อยล้ามากกว่าเดิม ควรออกกำลังกายเบาๆ เช่นเดินช้าๆบ้างเร็วบ้าง สลับกันไป
2.ในบ้างครั้งควรเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และประกอบไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการและโดยไม่ควรเว้นมื้อการทานอาหาร สำคัญไม่ควรขาดคืออาหารมื้อเช้าของทุกวัน
3.ปรับเปลี่ยนการดื่มน้ำคือ เดิมให้เพียงพอสำหรับในแต่ละวัน ไม่มากจนเกินไปและไม่น้อยจนทำให้ร่างกายขาดน้ำ
4.ข้อนี้สำคัญมากคือ ควรนอนให้เพียงพอ แนะนำให้นอนไม่เกินสามทุ่ม
5.ถ้าหากมีปัญหาที่กระทบต่ออารมณ์ความรู้สึก ไม่ควรหลีกเหลี่ยง ต้องเผชิญหน้าพร้อมหาทางแก้ไข้ ทั้งนี้สามารถปรึกษาเพื่อนหรือคนในครอบครัวให้ช่วยคิดแก้ไข เพื่อให้มีแนวทางการรับมือเมื่อปัญหานั้นอาจเกิดซ้ำ
6.เมื่อมีเวลาว่างควรหากิจกรรมทำ เพื่อให้เกิดความรู้สึกผ่อนคลาย เช่น การเล่นโยคะ ว่ายน้ำ วาดรูป ดูหนัง ฟังเพลง พูดคุยกับเพื่อนๆ เป็นต้น
ทั้งนี้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับการใช้ชีวิตประจำวันก็เป็นส่วนช่วยลดอาการอ่อนเพลียได้ไม่น้อย เช่นกัน และในส่วนของผู้ที่มีปัญหาด้านสุขภาพที่เป็นเหตุทำให้ร่างกายอ่อนเพลียสะสมต่อเนื่อง ผู้ป่วยในกลุ่ม 5 โรคก็ควรจะมีการเข้ารับรักษาเพื่อแพทย์แนะนำแนวทางการรักษาและตรวจเช็คได้ตรงจุด เพราะถ้าหากผู้ป่วยไม่ได้เข้ารับการรักษาที่ควรจะเป็น อาการอ่อนเพลียที่เกิดขึ้นต่อร่างกายอาจจะมีความรุนแรงมากเพิ่มขึ้น และสุดท้ายจะส่งผลให้สุขภาพร่างกายอ่อนแลลงรวมไปถึงทำให้สุขสภาพจิตใจหมองไปด้วย
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์