รู้ไหมว่า!? อาการหาวนอนตามกัน ทั้งคนทั้งสัตว์คือการกระตุ้นสมองให้เกิดความตื่นตัว และนี่คือวิวัฒนาการมาเรื่อย ๆ ตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ Lifestyle แต่ไม่มีผลต่อสุขภาพใดๆทั้งสิ้น บอกเลยวันนี้คนที่เคยสงสัยว่าทำไมเวลาที่คนใกล้ชิด “”หาว” นอนแล้วเราก็จะ “หาว” ตามต้องดูห้ามพลาดเด็ดขาด เพราะในวันนี้เรามีงานวิจัยหนึ่งชิ้นเกี่ยวกับเรื่องนี้มาให้ดู
อาการหาวนอนตามกัน คือวิวัฒนาการที่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทำมาตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์
เชื่อว่ามีหลายคนเคยสงสัยอาการหาวติดต่อจากการสังเกตตัวเองและคนรอบข้างอยู่เป็นประจำ และนำมามาตั้งข้อสงสัยว่าทำไมนะมันเป็นเพราะอะไร!?? ทั้ง ๆที่บางครั้งไม่ได้รู้สึกง่วงนอนอะไรเลย ซึ่งพฤติกรรมที่ว่านั้นมันเกิดขึ้นได้ทั้งกับคนและสัตว์ ซึ่งมันเกิดขึ้นคลายกันแบบแปะๆไม่มีผิดพลาด และในอดีตนั้นยังไม่มีนักวิจัยคนใดทำการทดลองแล้วทราบว่าการ “หาว” นั้นติดต่อกันได้อย่างไรและมีสาเหตุมาจากอะไรกันแน่ แต่ถ้าว่าเมื่อไม่นานมานี่ได้มีหนึ่งงานวิจัยที่น่าสนใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ออกมา จากสถาบันโพลีเทคนิคของมหาวิทยาลัย State University of New York (SUNY) ได้ทำการค้นหาผลการศึกษาที่เคยทำออกมาทั้งหมดมารวมกัน และทำการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดออกมาได้คำตอบออกมาว่า “อาการหาวตามกันนั้นเป็นกลุ่มอาการที่พบเจอกับสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังแทบทุกชนิด” ซึ่งคาดว่ามันนคือวิวัฒนาการของสัตว์สังคมก็เป็นได้ ดร. แอนดรูว์ แกลลัป นักชีววิทยาวิวัฒนาการจากสถาบันโพลีเทคนิค กล่าว และผลการศึกษาของ “ดร. แกลลัป” ที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร Animal Behavior นั้นมีเนื้อหาว่า
ถึงแม้ว่าในอดีตนักวิจัยจะคาดการว่าอาการหาวคือหนึ่งพฤติกรรมปกติที่มนุษย์นั้นทำกัน เพราะกล้ามเนื้อบริเวณขากรรไกรและกะบังลมจะเกร็งตัวเองอัตโนมัติ เพื่อให้สามารถสูดลมหายใจเข้าไปในปอดให้ลึก และจะได้รับออกซิเจนเข้าไปเพิ่มส่วนที่ขาดแคลนในร่างกาย แต่ในทางกลับกันงานวิจัยใหม่ ๆ ที่ออกมานั้นกลับบอกว่า การหาวคือร่างกายของเรานั้นต้องการปรับสมดุลอุณหภูมิระบบไหลเวียนเลือด และความพยายามที่ว่านั้นสร้างขึ้นมาเพื่อทำให้สมองที่ร้อนและเฉื่อยชาเย็นตัวลง และกลับมาตื่นตัวใหม่อีกครั้ง
หลังจากนั้นนักวิจัยได้นำงานวิจัยที่กล่าวมาเมื่อข้างต้นมาอธิบายถึงสาเหตุโดยใช้มุมมองทางชีววิทยาวิวัฒนาการเข้าร่วมการศึกษาในครั้งนี้ด้วย ส่วนผลที่ออกมานั้นพบว่าพฤติกรรมประหลาดที่เป็นไปโดยอัตโนมัตินั้น อาจจะเป็นวิธีที่สัตว์ใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสมาชิกให้เหมือนกัน เชื่อว่าการหาวส่งผลให้ผู้พบเห็นหาวตามและมันจะไปกระตุ้นสมองให้ตื่นตัว แถมยังเฝ้าระวังภัยที่อาจมาถึงในตอนที่ผู้อื่นรู้สึกง่วงหรือหลับอยู่ และคาดว่าพฤติกรรมนี้นั้นมีวิวัฒนาการนี้มีมานานคาดการว่ามีตั้งแต่ช่วงยุคดึกดำบรรพ์
หรืออาจจะมาจากสมัยที่บรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตที่มีกระดูกสันหลังยังคงมีชีวิตอยู่ จนพัฒนามาเป็นสัญชาติญาณของมนุษย์และสัตว์หลายชนิดในปัจจุบัน และในปีที่ผ่านมา “ดร. แกลลัป” ได้ทำการทดลองอีกครั้งเพื่อยืนยันว่าแนวคิดของเขานั้นน่าจะเป็นเรื่องจริง ซึ่งการทดลองดังกล่าวนั้นจะให้กลุ่มอาสาสมัครดูคลิปวิดีโอของคนที่อ้าปากรูปแบบที่แตกต่างกันไป พร้อมกันกับดูภาพของสัตว์หลายชนิด ที่ดูเป็นอันตรายและภาพของกบที่ดูไม่เป็นอันตราย ส่วนผลที่ออกมานั้นพบว่าความสามารถในการระวังภัยของกลุ่มอาสามสมัครเหล่านั้นดีขึ้นมากว่าเดิม แต่ยังไม่มีผลต่อการมองเห็นรูปกบที่ไม่เป็นอันตราย
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์