Wednesday, 24 April 2024

เมื่อ “อาหาร” กลายเป็น “ขยะ” food waste แต่ยังคงมีคนที่ขาดแคลานอาหาร และได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอ!? แปลกไหม

29 Sep 2022
183

food waste เมื่ออาหารกลายเป็นขยะ ส่งผลกระทบให้ “โลก” และ “สิ่งแวดล้อม” แต่ยังคงมีคนที่ขาดแคลนและต้องการอาหาร และได้รับ nutrients ที่ไม่เพียงพอต่อสุขภาพร่างกาย!? เรื่องที่เกิดขึ้นยังนี้แปลกไหม ย้อนแย้งเกินไปไหม หรือว่าคนเรานั้นยังไม่มีความตื่นตัวกับปัญหาที่เกิดขึ้นที่ยังไม่สามารถหาทางแก้ไขได้

สล็อต xo Slotxo

เมื่ออาหารกลายเป็นขยะ ส่งผลกระทบให้ “โลก” และ “สิ่งแวดล้อม” จนกลายเป็นปัญหาระดับโลกที่แก้ยังไม่ได้ แม้จะมีนักสิ่งแวดล้อมออกมาเคลื่อนไหวจำนวนไม่น้อย

เมื่ออาหารกลายเป็นขยะ-ส่งผลกระทบให้ “โลก” และ “สิ่งแวดล้อม”

ในแต่ละวันนั้นคุณเคยสังเกตไหมว่าคุณรับประทานอาหารหมดหรือเปล่า ซึ่งถ้าคุณทานหมดนั้นคุณก็จะไม่รู้สึกผิด แต่ถ้าหากว่าคุณนั้นทานไม่หมดคุณอาจจะต้องรู้สึกผิดแน่นอน เพราะคุณอาจเป็นหนึ่งในคนที่ทำให้ปัญหา อาหารกลายเป็นของเหลือทิ้งที่ส่งผลเสียมากมายต่อหลายๆสิ่งหลายๆอย่างแล้ว food waste คืออะไร? แล้วทำไมมีคนจำนวนมากที่อดอยากเรื่องอาหารแต่ปัญหานี้ยังคงเกิดขึ้น และทำไมอาหารยังเหลือทิ้ง?

Food and Agriculture Organization ได้ให้ความหมายของคำว่า “food waste” บอกเอาไว้ว่ามันคือ “food waste” หรือขยะอาหารที่มาจากการการขายและการบริโภค ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับพฤติกรรมของพวกเรา ทั้งการเป็นผู้ซื้อ เป็นผู้ผลิต เป็นผู้บริโภค และคนอื่นๆ และพวกเขานั้นยังบอกอีกว่าในแต่ละปีมีอาหารถูกทิ้งแล้วกลายมาเป็น “ขยะ” ประมาณ 1,300,000 tons หรือ 1 ใน 3 ของอาหารที่ถูกผลิตขึ้นตลอดทั้งปี ในทางกลับกันก็ยังมีกลุ่มคนที่ขาดแคลนอาหาร และไม่ได้รับสารอาหารที่เพียงพอในการดำรงชีวิต เพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆในทุกๆปี

ปัญหาระดับโลกที่แก้ยังไม่ได้ คือปัญหาจากอาหาร

บทความจาก Al Jazeera เขียนเอาไว้ว่าข้อมูลจาก UNICEF บอกว่า ระหว่างปี ค.ศ.2005-2015 อัตราคนที่ขาดแคลนอาหารของโลกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเมื่อปีปี ค.ศ.2018 ที่ผ่านมา มีผู้คนประมาณแปดร้อยยี่สิบล้านคนจากทั่วทุกประเทศ ไม่ได้รับอาหารจำนวนมหาศาล เพิ่มขึ้นสูงจากปี 2014 ประมาณสามสิบห้าล้านคน และถ้ามีคนจำนวนมากมายขนาดนี้ยังต้องการสารอาหาร แล้วทำไมปัญหา food waste ยังคงอยู่และไม่หายไปไหน

เรื่องนี้ผู้เชี่ยวชาญหรือนักกำหนดอาหารอธิบายเอาไว้ว่า over production นี้คือสิ่งที่ทำให้ปัญหานี้ก่อกำเนิดเกอดขึ้นมา ซึ่งว่าการผลิตอาหารขึ้นมามากมายมากกว่าคนรับประทานนั้นคือปัญหาใหญ่ หากเราสังเกตเราจะเห็นเลยว่าปัญหานี้มาจาก ร้านอาหาร ภัตตาคารขนาดใหญ่ ที่ต้องเตรียมอาหารรองรับลูกค้าปริมาณมหาศาล สุดท้ายกก็จะจบลงด้วยกการนำอาหารที่เหลือจากการรับประทานออกมาทิ้งจนมันกลายเป็นขยะเน่าเสีย ไม่ใช่แค่ร้านอาหารโรงแรมภัตตาคารและยังรวมไปถึง บ้านเรือนครอบครัวที่ทำอาหารในปริมาณที่มากๆ สุดท้ายก็ต้องนำออกมาทิ้ง ซึ่งคนที่สามารถเข้าถึงอาหารแบบนี้ได้คือ กลุ่มคนระดับชนชั้นกลางขึ้นไป

เมื่ออาหารกลายเป็นขยะ-แต่ยังคงมีคนต้องการอาหาร

ในทางกลับกันคนที่มีฐานะไม่ดีและคนเร่ร่อนนั้นไม่มีโอกาสเข้าถึงอาหารพวกนี้ได้อย่างแน่นอน และมันเลยส่งผลให้เกิดการเกลี่ยสัดส่วนอาหารที่ไม่ค่อยลงตัวมากสักเท่าไหร่ ทำให้พวกเขานั้นไม่สามารถเข้าถึงอาหารพวกนี้ได้ และทั้งหมดที่ว่ามาก็คือปัจจัยที่ทำให้เกิด food waste เพิ่มขึ้นทุกปี “food accessibility” เกิดขึ้นในประเทศไทยนั้นไม่สูงเหมือนประเทศอื่นๆ แต่มันยังคงเป็นปัญหาความเหลื่อมล้ำที่แก้ไม่ตก ส่วนมาตรการลดราคาอาหารที่ใกล้จะหมดอายุนั้นก็ได้แค่ลดให้กับกลุ่มคนที่มีเงินซื้อ ไม่ได้ลดหรือไปช่วยเหลือคนที่อยู่จุดต่ำลงไปกว่านั้น ปัญหานี้ต้องได้ความร่วมมือจากหหลายๆส่วนทั้ง ภาครัฐ และเอกชน เพราะว่าตอนนี้จากที่เห็นนั้นมีเพียง supermarket เท่านั้นที่ใช้การลดราคาสินค้าไม่ให้เกิด food waste

ผลกระทบจาก food waste

ผลกระทบจาก food waste ต่อความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม

ผลกระทบจาก food waste ที่ควรเฝ้าระวังคือ ขยะจากเศษอาหารทำให้มีการปล่อย Greenhouse gas มากถึง 8 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นหลายๆประเทศทั่วโลกนั้นจึงพุ่งเป้าไปแก้ปัญหาทำให้อาหารไม่เกิดเป็นขยะอย่างหนักหน่วง เพราะว่าขยะจากอาหารพวกนี้คือฟนึ่งในตัวแปรการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโดยรวม

นอกจากจำนวนขยะที่เพิ่มสูงขึ้นแล้ว การนำ agricultural products มาเปลี่ยนแปลงเป็นอาหารจำนวนมหาศาล ท้ายที่สุดท้ายแล้วอาหารพวกนก็กลายมาเป็น “ขยะ” ที่จะต้องทิ้ง จนส่งผลทำให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ environmental scholar อธิบายเพิ่มเติมว่า การผลิตอาหารจำนวนมากเปลี่ยนแปลงเหมือนกันกับ

การเพิ่มขึ้นของการปลูกพืชเชิงเดี่ยว และการขยายตัวทางการเกษตรที่บุกเข้าไปยังพื้นที่ป่ามากขึ้น จนทำให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพไปการผลิตแบบ “mass production” จึงเป็นการให้ความสำคัญไปที่จำนวนการฟีดจำนวนอาหารเข้าระบบ โดยไม่ได้ติดถึงการเกลี่ยสัดส่วนอาหาร หรือข้อกังวลด้านสิ่งแวดล้อมมากขนาดนั้น