งานวิจัยชี้!! คนที่เสพข่าวปลอม Fake News ส่วนมากคือ เป็น “คนแก่ที่มีมีการศึกษา” แถมยังมีฐานนะที่มั่นคงและมีข้อมูลจากหลายๆด้าน Lifestyle ไม่ใช่ “คนจน-ไม่ใช่คนที่เรียนมาน้อย” แต่อย่างใด หลายปีที่ผ่านมาได้หลายคนนั้นอาจคุ้นหูกับคำว่า Fake News ที่เผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆมากขึ้น จนมันกลายเป็นประโยคการเมืองสำคัญ
คนที่เสพข่าวปลอม ส่วนใหญ่ไม่ใช่ “คนจน-ไม่ใช่คนที่เรียนมาน้อย” แต่เป็น “คนแก่ที่มีมีการศึกษา” แถมยังมีฐานนะที่มั่นคงและมีข้อมูลจากหลายๆด้าน
หลังจากที่ยุคโลกออนไลน์เฟื่องฟูเชื่อว่าหลายๆคนที่เป็นนักท่อวโซเชียลนั้นจะเคยได้ยินคำว่า Fake News ผ่านหูผ่านตามากขึ้นกว่าเดิม มากจนมันกลายเป็นประโยคทางการเมืองสำคัญที่ใช้เพื่อกำกับดูแลสื่อต่างๆ ซึ่งเอาตามตรวแล้วไอเดีย แบบ “พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์” ที่ถูกกำหนอดขึ้นมาใช้ในหลายประเทศทั่วโลก พื้นฐานความคิดสร้างสรรค์เบื้องต้นคือ ความเชื่อว่าคนในสังคมนั้นจะมีคนจำนวนมากที่จะหลงเชื่อ “ข่าวปลอม” ใน Social Media ซึ่งนั่นจะนำไปสู่การกระทำที่เป็นภัยต่อสังคมรวมไปจนถึงสร้างความผิดเพี้ยนในระบอบเสรีประชาธิปไตย ดังนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นอาจจำเป็นจะต้องถูกกำจัด และในทางปฏิบัติวิธี classic ในการจัดการสิ่งต่างๆของรัฐก็คือการทำให้มัน “ผิดกฎหมาย”
ปัญหาคือที่ว่านั้นมันเป็นเพียง “ความเชื่อ” เท่านั้นเพราะแทบจะไม่เคยมีการพิสูจน์ผ่านช่องทางใดๆเลยอย่างจริงจังเพื่อที่จะหาความเป็นจริง ว่ากลุ่มคนที่หลงเชื่อ “Fake News” จนเป็นภัยต่อสังคมนั้นมีอยู่จริงๆ ไหมและมันมีเรื่องอะไรที่สำคัญซ่อนอยู่หรือเปล่า หรือกระทั่งการพิสูจน์ว่าคนที่เชื่อในเรื่องที่ดู “เหลือเชื่อ” สไตล์ Fake News ได้มันมีอยู่จริงๆ หรือเปล่า และเมื่อไม่นานที่ผ่านมาได้มีนักวิจัยจาก Wharton School of the University of Pennsylvania ในสหรัฐอเมริกาที่เผยแพร่ผ่านทาง World Economic Forum เมื่อประมาณเดือนสิงหาคม 2022 นั้นบอกเอาไว้ประมาณว่าน่าจะไม่มีหนทางใดๆที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อต้อสู้และลบล้าง Fake News ได้และสิ่งที่ทำมาทั้งหมดอาจดูไร้ประโยชน์ไปเลย
สรุปง่ายๆให้เข้าใจได้เลยก็คืองานวิจัยชิ้นดังกล่าวนั้นศึกษาการบริโภค ONLINE MEDIA ของสังคมอเมริกันช่วงปี 2017 หรือกลางๆ สมัยอดีตประธานาธิบดี Donald John Trump ซึ่งสิ่งที่พวเขาเจอก็คือคนที่ชอบอ่าน Fake News ทั้งหลายอย่างเสพติดและออกไม่ได้นั้นส่วนมากก็คือ กลุ่มคนมีอายุที่มีการศึกษาที่ดีและมีฐานนะทางการเงินการงานที่มั่นคง และมักจะไม่มีครอบครัวมากกว่ากลุ่มคนอื่นๆ เช่น กลุ่มคนจนที่ไม่มีการศึกษาที่ฐานนะทางการเงินนั้นไม่ค่อยจะดี
ประเด็นหลักๆที่เจอนั้นก็คือคนกลุ่มดังกล่าวนั้นมีจำนวนไม่มากเท่าไหร่ เพราะคนมากกว่า 95 เปอร์เซ็นต์ ที่เสพติด Fake News ก็เสพติดข่าวอื่นๆ มากมายด้วย หรือพูดให้ตรงๆก็คือคนยิ่งเสพติดข่าวสาร ONLINE เยอะมันก็ยิ่งมีโอกาสที่จะเสพติด Fake News ผสมปนเปย์ไปบ้างอยู่แล้วและคนส่วนมากก็ไม่ได้เชื่อในสิ่งพวกนี้เท่าไหร่ แน่นอนว่าผลงานการวิจัยของนักวิจัยชิ้นนี้นั้นน่าสนใจมาก เพราะมันพูดถึงเรื่องที่สำคัญมากๆต่อโลกในยุคสมัยนี้ เพราะทุกคนนั้นเห็นด้วยว่าต้องการกำจัด Fake News ออกไปให้หมดจนบางประเทศนั้นถึงขั้นลงทุนก่อตั้งศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมขึ้นมา และIT Minister ก็สามารถไม่ทำอะไรได้อย่างมากมายนัก เพราะพวกเขานั้นสามารถทำได้แค่เพียง “ขู่” ว่าจะเล่นงานคนที่ทำข่าวปลอมออกมาเผยแพร่
ซึ่งว่างานวิจัยดังกล่าวนั้นกำลังจะบอกพวกเราว่าความพยายามหลานๆอย่างที่จะกำจัดข่าวปลอมให้หมกนั้นมันไม่มีประโยชน์ แถมมันยังเป็นอะไรที่สิ้นเปลืองมากๆ เพราะว่าข่าวปลอมนั้นไม่ได้สร้างความเดือดร้อนอะไรมากมายให้แก่สังคมอย่างมีนัยยะสำคัญอย่างที่หลายๆคนนั้นบอก มันจะส่งผลเสียก็แค่กับกลุ่มทางการเมืองเท่านั้นที่เอาความเสียหายที่ไม่มีเรื่องออะไรมาตีให้มันเกิดเรื่องใหญ่และแดงขึ้นมา ดังนั้นคำถามสำคัญก็คือประชาชนนั้นนจะยังคงเชื่อบนฐานของตรรกะที่ไม่ได้มีข้อมูลทางสถิติมาบอกกล่าวว่ามันจริงแท้แค่ไหน หรือประชาชนนั้นจะหันมาเชื่อในสถิติที่มาจากงานวิจัยที่มีเอกสารยืนยันจริงๆ ซึ่งว่าสิ่งที่ไม่อาจยกมาพูดได้เลยก็คือ ความคิดขั้นพื้นฐานของสังคมสมัยใหม่
ไม่ว่าจะเป็นอิสระของข้อมูลข่าวสาร หรือกระทัง Liberal democracy มันคือระบบที่เชื่อในสติปัญญาและเชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ สรุปง่ายๆก็คือถ้าข้อมูลข่าวสารปลดปล่อยไปได้อย่างไม่มีข้อผูกมัด มนุษย์จะตัดสินใจได้ดีที่สุดไม่ว่าจะเรื่องส่วนตัวหรือเรื่องสาธารณะ มนุษย์จะเชื่อในวิจารณญาณของคนว่าจะแยกเรื่องจริงกับเท็จได้ ถ้าข้อมูลมันอิสระจริงๆ
สรุปก็คือมันถึงเวลาหรือยังที่ทุกคนจะยอมรับว่า concept ย่าง Fake News นั้นเป็นสิ่งที่นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เป็นอันตราย และยอมรับว่ากฎหมายตระกูล พรบ. คอมฯ ที่ออกมาทั่วโลกที่มีเจตนารมย์เพื่อจะกำจัด Fake News นั้นคือความผิดพลาดทั้งหมด
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์