Monday, 25 November 2024

แนะนำให้ “รู้จักภาวะหายใจเกิน” Hyperventilation ที่ทำให้คนรู้สึกเหมือนขาดอากาศ!? แค่หายใจทำไมถึงทำได้ยาก!!

31 May 2022
330

รู้จักภาวะหายใจเกิน Hyperventilation ภาวะที่ทำให้หายใจลำบากเหมือนคนใกล้ขาดใจ “ไฮเปอร์เวนติเลชั่น”ภาวะที่ไม่อันตรายแต่ต้องได้รับการดูแล บอกเลยว่าปัญหาสุขภาพเพียงเล็กๆน้อยที่เกิดขึ้นหรือแสดงอาการให้เรารับรู้ได้นั้นไม่ควรละเลยแม้แต่เรื่องเดียว อย่างเช่น “ภาวะหายใจเกิน” ที่เรานำมาให้ดูในวันนี้

สล็อต xo Slotxo

รู้จักภาวะหายใจเกิน Hyperventilation ภาวะที่ทำให้หายใจลำบากเหมือนคนใกล้จะขาดใจ

รู้จักภาวะหายใจเกิน-ภาวะที่หายใจลำบาก

“หายใจ” คือสิ่งหนึ่งที่มนุษย์โลกเกิดมาแล้วสามารถทำเองแลยแบบที่ไม่ต้องไปเรียบรู้จากใครที่ไหน แต่ในอีกมุมหนึ่งเมื่อเราโตขึ้นมากลับพบความจริงอีกหนึ่งอย่างว่า “การหายใจกลายเป็นเรื่องที่ทำ “ยาก”” ยากจนถึงขั้นที่ต้องไปเรียนรู้ไหมอีกครั้ง ส่วนความจริงอีกอย่างนั้นก็คือ “การหายใจ” ไม่สะดวกหรือหายใจแบบติดๆขัดๆค่อนไปทางลำบากนั้นอาจจะเป็นหนึ่งมนอาการที่บอกว่าเรามีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพหลายๆ ที่อาจจะเป็นโรคร้ายและโรคที่ปกติได้ ซึ่งอาการเหล่านั้นเบื้องต้นจะต้องได้รับการตรวจจากแพทน์ผู้เชี่ยวชาญอย่างละเอียดก่อนอันดับแรก และแพทย์จะต้องสอบถามอาการที่เกิดขึ้นเบื้องต้นจนเกิดขึ้นเป็นประจำก่อน เพื่อที่จะได้เข้ารับการรักษาและวินิจฉัยอาการป่วยและนำไปสู่การรักษาได้อย่างถูกต้องและทันเวลา

Hyperventilation ภาวะที่ทำให้หายใจลำบากเหมือนคนใกล้จะขาดใจ

Hyperventilation หรือ ไฮเปอร์เวนติเลชั่น คืออีกหนึ่งกลุ่มอาการที่แพทย์พบเจอว่ามีความเกี่ยวข้องกับอาการหายใจไม่สะดวก ที่ไม่เป็นอันตรายแต่ต้องได้รับการรักษา ซึ่งภาวะนี้คือภาวะที่คลายว่าเหมือนจะขาดอากาศหายใจหายใจไม่สะดวกหรืออึดอันรู้สึกว่าทำไมมันถึงหายใจลำบากขนาดนี้ ซึ่งคนไทยเรียกมันว่า “ภาวะหายใจเกิน” ต้องขอบอกก่อนนะว่าคนที่ตกอยู่ในภาวะนี้ถ้าไม่เข้าใจตัวเองมันก็ยิ่งส่งผลให้อาการที่เป็นอยู่นั้นแย่ลง เพราะอาจมีภาวะตื่นตระนกตกกใจกลัวทำให้ย่ำแย่ลงไปมากกว่าเดิม และภาวะที่ว่านี้คนส่วนมากที่ไม่พบเจอกับตัวเองนั้นอาจจะไม่เข้าใจว่าเกิดขึ้นจากอะไรแล้มันเกิดขึ้นได้จริงไหม บางครั้งอาจมองในแง่ร้ายไปจนถึงว่า “แกล้งทำ” แกล้งเป็น หรือเสแสร้ง ส่วนภาวะนี้นั้นแพทย์ได้ระบุและวินิจฉัยว่าเป็นภาวะที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและต่อชีวิตแต่มันคืออาการที่อาจมีความเกี่ยวข้องกันกับ จิตใจส่วนลึกและความรู้สึกทางอารมณ์

อาการบ่งชี้ที่ควรรู้ และการปรับวิธีหายใจ

อาการบ่งชี้ที่ควรรู้ และการปรับวิธีหายใจ

ข้อมูลที่เรานำมาในวันนี้นั้นมาจากเว็บไซต์สถาบันการแพทย์ของต่างประเทศนั้นอธิบายส่วนนี้เอาไว้ว่า ผู้ป่วยที่มีอาการที่ว่ามาเมื่อข้างต้นนี้นั้นเกิดขึ้นจากการหายใจถี่หายใจเร็ว หรืออาจจะเกิดจากการหายใจลึกจนเกินไปจนมันไปทำให้เกิดความไม่สมดุลในร่างกาย และที่เป็นแบบนั้นอาจจะเป็นเพราะคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกขับออกมานั้นมีปริมาณที่มากจนเกินไป และมันอาจมีเยอะจนไปกระทบภาวะกรดด่างในเลือด และอาจจะส่งผลให้ผู้มีภาวะนี้มีความรู้สึกชาที่ใบหน้า ปลายมือปลายเท้า และในบางครั้งก็อาจจะมีภาวะมือจีบเกร็ง เวียนหัว และแน่นหน้าอกเหมือนขาดอากาศยังไงยังงั้น ส่วนพฤติกรรมที่ผู้มีอาการนั้นทำส่วนใหญ่เมื่ออากการกำเริบนั้นคือ พยายามหายใจถี่ขึ้น หายใจเร็วขึ้น หายใจลึกขึ้นกว่าเดิมซ่ำๆ เพราะอาจจะเข้าใจว่าภาวะอาการที่เป็นอยู่ทีสาเหตุมาจากการ “หายใจ” เอาออกซิเจนเข้าไปสู่ร่างกายไม่เพียงพอเท่าที่ควร แต่รู้ไหมว่าการกระทำดังกล่าวนั้นไม่ได้

ถ้าอย่างนั้นผู้มีอาการนี้ควรทำอย่างไร?

ถ้าอย่างนั้นผู้มีอาการนี้ควรทำอย่างไร?

ทางแก้ที่มักเห็นบ่อยในภาพยนตร์หรือซีรีส์ฝั่งตะวันตกที่สามารถนำมาทำตามได้นั้น คือป้องปากเอาไว้กก่อนสักพักเพื่อชะลอการหายใจ หรือไม่ก็ลองหายใจใส่ถุงกระดาษหรือถุงพลาสติกทีสะอาด เพื่อไปปรับลดเพิ่มระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในร่างกายไม่ให้ลดต่ำลงจนส่งผลกระทบภาวะความเป็นด่างในเลือดในแย่ลง แต่ในยุคปัจจุบันแพทย์ส่วนมากแนะนำว่าการจะดูแลตัวเองดด้วยวิธีที่ว่ามาเมื่อข้างต้นนั้นจะต้องแน่ใจแล้วว่าตนเองไม่ได้มีอาการเจ็บป่วยโรคอื่นๆที่ร้ายและร่วมด้วยอย่างเช่น

  • ปอดบวม
  • ปอดอักเสบ
  • อาการบาดเจ็บศีรษะรุนแรง
  • หอบหืด
  • ไอ
  • เจ็บหน้าอก และ
  • มีเสียงวี้ดขณะหายใจ

เพราะถ้าผู้ที่มีอาการของโรคเหล่านี้ที่เราว่มานั้นถ้าหากนำวิธีนี้มาใช้ในการหายใจในถุงอาจทำให้อาการทรุดหนักกว่าเดิมส่วนวิธีที่ปลอดภัยที่สุดในการรักษาอาการนี้ก็คือ ให้หายใจช้าลงโดยเปลี่ยนเป็นการหายใจทางท้องสำหรับบางคนอาจเรียกว่าหายใจนี้ว่าหายใจทางกระบังลม Belly breathing หรือ Diaphragmatic breathing วิธีการคือให้ผู้ป่วยหายใจเข้าทางจมูกเพื่อเอาอากาศเข้าไปที่ท้องวิธีสังเกตว่าทำถูกไหมนั้นให้ดูว่า

  • ท้องจะค่อยๆ ป่องออกเวลาหายใจเข้า
  • แต่หน้าอกจะต้องไม่ขยับ เวลาที่หายใจ
  • จากนั้นให้กลั้นลมหายใจไว้ประมาณ 2-4 วินาที
  • จากนั้นค่อยๆ ผ่อนออกช้าๆ จนท้องแฟบ
  • ให้ทำแบบเดิมซ้ำอีกเรื่อยๆ จนรู้สึกว่าอาการดีขึ้น

เผชิญหน้า ‘สาเหตุ’ ของภาวะทางอารมณ์

ต้องขอบอกก่อนนะว่าในช่วงก่อนหน้านี้อาการ “Hyperventilation” ไม่ค่อยถูกพูดถึงในประเทศไทยมากนัก แต่ในทางกลับกันย้อนกลับไปในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ทางหน่วยงานด้านสุขภาพจิตและสาธารณสุขของประเทศไทยนั้นได้ทำการเปิดเผยแพร่ข้อมูลที่น่าสนใจ เกี่ยวกับอาการที่ว่ามานี้กันอย่างแพร่หลายขึ้น บางส่วนของข้อมูลนั้นได้ระบุถึงสภาพบ้านเมืองที่ถูกกดดันจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และเศรษฐกิจที่ไม่ปังเหมือนก่อนหน้านี้ ส่งผลทำให้ผู้คนเกิดความเครียดกันเพิ่มมากขึ้น และนี้น่าจะเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้พบผู้ป่วยในกลุ่มอาการนี้เพิ่มมากขึ้น และล่าสุดเมื่อปี 2564 สื่อหลายช่องของประเทศไทยนั้นมีรายงานคำแนะนำจาก “นายแพทย์ธนินทร์ เวชชาภินันท์” ผู้อำนวยการสถาบันประสาทวิทยาบอกเอาไว้ว่า ผู้มีอาการกลุ่ม “Hyperventilation” ส่วนใหญ่นั้นมักเจอว่าผู้หญิงมีโอกาสเป็นมากกว่าผู้ชาย และพบมากในผู้ที่มีจิตใจไม่มั่นคง บุคลิกภาพไม่แข็งแรงหรือไม่หนักแน่น เมื่อมีเรื่องตกใจ ขัดใจ โมโห ฉุนเฉียว ก็จะเกิดอาการกำเริบได้ทันที