เจ็บคอ แบบไหน ถึงควรกิน “ยาปฏิชีวนะ” เพื่อลดความเสี่ยงการปัญหาเชื้อ “ดื้อยา” เพราะงานวิจัยชี้ว่ามีคนมากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ ไม่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะ (ยาต้านแบคทีเรีย) ในการรักษา เพราะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาบอกว่านอกจากจะไม่ส่งผลต่อสุขภาพและการรักษาแล้วยังอาจทำให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยาด้วย
เจ็บคอ แบบไหน ถึงควรกิน “ยาปฏิชีวนะ” เพื่อลดความเสี่ยงการ “ดื้อยา”
การกินยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาอาการเจ็บคอโดยที่ไม่จำเป็น เป็นหนึ่งในพฤติกรรมเสี่ยงที่ทำให้ผู้ป่วยนั้นเกิดปัญหาเชื้อดื้อยา เพราะเมื่อไม่นานนมานี้ทาง Faculty of Medicine Siriraj Hospital บอกเอาไว้ว่าผู้ป่วยส่วนมากประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ไม่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะ (ยาต้านแบคทีเรีย) ในการรักษา เพราะนอกจากจะไม่ส่งผลต่อการรักษาแล้วยังอาจทำให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยาด้วย
เจ็บคอแบบไหนกินยาปฏิชีวนะได้!!?
เจ็บคอจากการติดเชื้อไวรัส
- ไม่จำเป็นต้องกินยาปฏิชีวนะ เช่น
- คอแดง
- ทอนซิลบวมแดง
พร้อมอาการร่วมที่อาจเกิดขึ้นได้ ได้แก่
- มีไข้ต่ำๆ
- ไอ
- น้ำมูกไหล
- เสียงแหบ
- อ่อนเพลีย
อาการเจ็บคอที่มาจากเชื้อไวรัส สามารถพบเจอได้เป็นประจำจากการเจ็บคอเพราะเป็นไข้หวัดธรรมดา คำแนะนำในการพักผ่อยแนะนำว่าให้นอนพักผ่อนให้เพียงพอและดื่มน้ำให้เยอะๆ สามารถกลั้วคอด้วยน้ำเกลือได้เพื่อบรรเทาอาการระคายคอ ถ้าไอหรือมีน้ำมูกมาก อาจกินยาแก้ไอหรือยาแก้แพ้ โดยทั่วไปมักหายเองได้ภายใน 7-14 วัน
เจ็บคอจากการติดเชื้อจากแบคทีเรีย
- อาจต้องได้รับยาปฏิชีวนะ เช่น
- คอแดง
- มีจุดหนองที่ต่อมทอนซิล
- ทอนซิลบวมแดง
พร้อมอาการร่วมที่อาจเกิดขึ้นได้ ได้แก่
- มีไข้มากกว่า 38 องศาเซลเซียส
- ไม่มีอาการไอ
- ต่อมน้ำเหลืองใต้ขากรรไกร
- หน้าบวมโตขึ้นหรือกดเจ็บ
อาการเจ็บคอจากเชื้อ bacteria ไม่ค่อยพบเห็นมากสักเท่าไหร่เหมือนอาการเจ็บคอจากเชื้อไวรัส หากมีอาการแนะนำว่าควรปรึกษาแพทย์ หรือเภสัชกร เพื่อประเมินความจำเป็นของการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ ทั้งนี้ ยาต้านจุลชีพ ได้แก่
- ยาต้านแบคทีเรียหรือยาปฏิชีวนะ
- ยาต้านไวรัส
- ยาต้านเชื้อรา
- ยาต้านปรสิต
พวกเราทุกคนสามารถลดเชื้อดื้อยาได้ โดยหยุดพฤติกรรมเหล่านี้ เพราะเสี่ยงทำให้เกิดเชื้อดื้อยา หรือซื้อAntimicrobials กินเอง เช่น
- ยาต้านแบคทีเรียหรือยาปฏิชีวนะ
- ซื้อยาต้านจุลชีพตามคนอื่น
- รับประทานยาต้านจุลชีพไม่ครบขนาด
- หรือระยะเวลาการรักษาไม่ครบขนาด
- ไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำของการรับประทานยาต้านจุลชีพที่ถูกต้อง
- อมยาอมที่ผสมยาฆ่าเชื้อ
- เอายาต้านจุลชีพชนิดรับประทานมาโรยแผล
- ใช้ยาต้านจุลชีพในปศุสัตว์
ดังนั้นหากสงสัยภาวะติดเชื้อ ควรปรึกษาหมอที่โรงพยาบาลหรือเภสัชกรผู้จ่ายยา เพื่อดูอาการความจำเป็นของการรักษาด้วยยาต้านจุลชีพ
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์