Friday, 22 November 2024

เช็กลิสต์ “ตรวจสุขภาพ” อย่างไรต้องตรวจแบบไหน

21 Nov 2023
197

สุขภาพ เช็กลิสต์ ตรวจสุขภาพ คือการตรวจแบบไหน!? ตรวจหาอะไรใครอยากรู้ใคสงสัยต้องแวะเข้ามาอ่านเข้ามาทำความเข้าใจได้เลยที่ด้านล่างนี้ เพราะเรานั้นเตรียมเอาไว้ให้ได้ดูเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

สล็อต xo Slotxo

เช็กลิสต์ ตรวจสุขภาพ ว่าคือการตรวจแบบไหน!? มาดูได้เลย

เช็กลิสต์ ตรวจสุขภาพ ว่าคือการตรวจแบบไหน!? มาดูได้เลย

สำหรับในวันนี้ใครที่สงสัยว่า “ตรวจสุขภาพ” ประจำปี หรือ “ตรวจสุขภาพ” นั้นคือการตรวจแบบไหน วันนี้เราจะพาทุกท่านไปดูว่ามันคือการตรวจหาอะไรบ้าง

เช็กลิสต์ “ตรวจสุขภาพ” อย่างไรต้องตรวจแบบไหน

ตรวจสุขภาพประจำปี คือ

  • ตรวจเพื่อหาค่าไขมันที่อยู่ในเลือด
  • ตรวจหาค่าน้ำตาลในเลือด

เพื่อผลในการตรวจที่มีประสิทธิภาพ

  • ให้งดอาหารก่อนเข้ารับการตรวจร่างกายตั้งแต่ 6 ชั่วโมง

หรือกำหนดง่ายๆ คือ

  • ควรงดอาหารตั้งแต่เวลาเที่ยงคืนก่อนวันที่จะไปตรวจสุขภาพ
  • งดอาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง
  • งดอาหารที่ย่อยยาก
  • สามารถจิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย

**หากเป็นการบริจาคเลือด

  • ทานอาหารเช้าได้ตามปกติ
  • ต้องเป็นอาหารที่ไม่มีไขมันและน้ำตาลสูง
  • ต้องเข้านอนตั้งแต่เที่ยง

ขั้นตอนในการตรวจร่างกาย

ขั้นตอนในการตรวจร่างกาย

1.ทีมแพทย์จะเริ่มซักถามประวัติเบื้องต้น

  • ชื่อ อายุ อาชีพ
  • น้ำหนัก ส่วนสูง
  • ดัชนีมวลกาย
  • วัดไข้
  • วัดความดันโลหิต

2.เริ่มตรวจลึกขึ้น

  • โดยตรวจคลื่นหัวใจไฟฟ้า
  • ให้เราเข้าไปเก็บปัสสาวะ หรืออุจจาระ
  • เพื่อทำการตรวจ
  • และเปลี่ยนชุดเพื่อเข้าเครื่องเอกซ์เรย์ปอด

3.เจาะเลือด

  • เพื่อตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
  • น้ำตาลในเลือด
  • ไขมันในเลือด
  • หาเชื้อ HIV
  • หาประวัติการฉีดวัคซีนไวรัสตับบี
  • ตรวจการแข็งตัวของเลือด
  • ตรวจไทรอยด์
  • ตรวจการทำงานของตับ และไต

4.หากเป็นผู้หญิงที่อายุมากกว่า 30-40 ปีขึ้นไป

  • ควรตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
  • ควรตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วย (ขึ้นขาหยั่ง)

5.หากเป็นผู้ชายที่อายุมากกว่า 30-40 ปีขึ้นไป

  • ควรตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก

6.หากเป็นผู้สูงอายุ (ที่อายุมากกว่า 40-50 ปีขึ้นไป)

  • ควรตรวจสุขภาพหัวใจให้ละเอียดมากยิ่งขึ้น

7.ใครที่รู้ตัวว่าดื่มแอลกอฮอล์ หรือสูบบุหรี่

  • ควรตรวจปอด และตับ
  • ควรแจ้งทีมแพทย์ให้ทราบ

8.เมื่อได้มีโอกาสพบแพทย์

  • ควรให้แพทย์อาจซักถามประวัติเพิ่มเติม
  • พร้อมทั้งแจ้งผลการตรวจ
  • และขอคำแนะนำในการแก้ไขให้สุขภาพดีขึ้น

อายุ 55 ปีขึ้นไป ยิ่งต้องใส่ใจเข้ารับการตรวจสุขภาพ

อายุ 55 ปีขึ้นไป ยิ่งต้องใส่ใจเข้ารับการตรวจสุขภาพ

  • ให้เข้ารับการทดสอบสมรรถภาพของหัวใจตอนที่ออกกำลังกาย
  • เพื่อเป็นการทดสอบการทำงานของหัวใจด้วยการเดินสายพาน
  • จะทำให้รู้ว่ามีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือไม่

สำหรับคุณสาวๆ ที่ก้าวเข้าสู่วัย 55 ปี

  • เน้นตรวจความหนาแน่นของกระดูกที่ต่างๆ เช่น
  • ช่วงกระดูกสันหลัง
  • ส่วนเอวและสะโพก

หากผู้ที่เข้ารับการตรวจสุขภาพมีความกังวลในเรื่องใดมากเป็นพิเศษ อาทิ

  • มีอาการเหนื่อยหอบง่ายมากกว่าผิดปกติ
  • มีอาการปวดศีรษะบ่อยๆ
  • นอนไม่หลับ หรือปวดท้อง ฯลฯ
  • ควรแจ้งทีมแพทย์เพื่อเข้ารับการตรวจโดยละเอียด

สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมสดใหม่ทุกวันได้ที่นี่

สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมสดใหม่ทุกวันได้ที่นี่ข้าวกล่องเซเว่นแต่ละสีที่นี่