Friday, 22 November 2024

เช็คสัญญาณมะเร็ง “ลำไส้” ก่อนที่จะเป็นอันตรายถึงชีวิต

29 Jul 2022
334

เช็คสัญญาณมะเร็ง “ลำไส้” ได้ด้วยตัวเองจากการสังเกตการขับถ่ายอุจจาระของตัวเอง ก่อนที่จะเป็นอันตรายถึงชีวิต หลัง “เดม เดโบราห์ เจมส์” เสียชีวิตเพราะมะเร็งโรคร้ายที่ทำลายสุขภาพร่างกายให้ย่ำแย่ และคาดเอาชีวิตเขาไปในวัย 40 ปี

สล็อต xo Slotxo

เช็คสัญญาณมะเร็ง “ลำไส้” ได้ด้วยตัวเองจากการขับถ่ายอุจจาระของคุณ

เช็คสัญญาณมะเร็ง-ลำไส้

เดม เดโบราห์ เจมส์ ได้จากโลกใบนี้ไปด้วยโรคมะเร็งลำไส้ในวัย 40 ปี นั้นคือเหตุการณ์ที่ทำให้ประชาชนคนทั่วโลกนั้นหันกลับมาให้ความสำคัญกับโรคมะเร็งลำไส้ ด้วยการตรวจเช็คอุจจาระของตัวเองเป็นประจำเพื่อให้ตัวเองนั้นปลอดภัยจาก Colorectal Cancer  และทวารหนักที่เป็นมะเร็งที่เจอบบ่อยเป็นอันดับต้นๆ ในสหราชอาณาจักร และพบบ่อยเป็นอันดับที่ 3 ในประเทศไทยส่วนวิธีการสังเกตอาการที่บ่งบอกของมะเร็งลำไส้มีดังนี้

1.การมีเลือดออกปนมาในอุจจาระแบบไม่มีสาเหตุที่แน่ชัด

  • เลือดอาจเป็นสีแดงสดหรือสีแดงเข้ม

2.พฤติกรรมในการเข้าห้องน้ำขับถ่ายอุจจาระเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น

  • เข้าห้องน้ำบ่อยขึ้น
  • อุจจาระผิดปกติจากเดิมมีมูกปน
  • มีลักษณะแข็งมากขึ้นจากปกติ
  • รู้สึกปวดท้องน้อย
  • ท้องอืดตอนอิ่มท้องหรือแน่นท้อง

3.น้ำหนักลด

4.รู้สึกเหมือนลำไส้ไม่โล่ง

5.รู้สึกเหนื่อยหรืออ่อนเพลียกว่าปกติ

อาการผิดปกติที่กล่าวมานั้นไม่สามารถบ่งบอกได้ว่าคืออาการชองมะเร็งลำไส้ แต่ถ้าหากอาการเหล่านี้ไม่หายภายใน 3 สัปดาห์ควรเข้ารับการรักษาและขอคำแนะนำจากแพทย์โดยด่วน

เช็คสัญญาณมะเร็ง-วิธีสังเกตอุจจาระ

วิธีสังเกตอุจจาระ

1.เช็คว่ามีเลือดปนในอุจจาระหรือไม่

2.เช็คว่ามีเลือดไหลทางทวารหรือไม่

3.เช็คการเปลี่ยนแปลงของนิสัยการขับถ่าย เช่น

  • ถ่ายอุจจาระง่าย
  • ถ่ายอุจจาระบ่อยกว่าปกติ

4.รู้สึกว่าไม่ได้จำกัดของเสียจากลำไส้อย่างถูกต้อง

5.ไม่ขับถ่ายบ่อยอย่างเพียงพอ

มะเร็งลำไส้เกิดจากอะไร

มะเร็งลำไส้เกิดจากอะไร

1.ยิ่งอายุมาก ยิ่งมีความเสี่ยงของโรคมะเร็งมากขึ้น เช่น มะเร็งลำไส้

2.การบริโภคเนื้อสัตว์เนื้อและเนื้อสัตว์แปรรูป เช่น

  • สัตว์เนื้อแดง
  • ไส้กรอก
  • เบคอน แ
  • ซาลามิ

3.การสูบบุหรี่

4.การบริโภคเรื่องดื่มดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป

5.การมีน้ำหนักมาก และ โรคอ้วน

6.มีประวัติของการพบติ่งเนื้อในลำไส้

วิธีลดความเสี่ยง

1.ดูแลสุขภาพตัวเองเป็นประจำอาจ

2.ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

3.บริโภคผักและผลไม้มากขึ้นเพื่อเพิ่มกากใยอาหาร

4.บริโภคไขมันให้น้อยลง

5.ดื่มน้ำประมาณ 6-8 แก้วต่อวัน

6.ไปพบแพทย์หากคุณมีอาการผิดปกติ

6.เข้ารับข้อเสนอการตรวจคัดกรองมะเร็ง

การรักษา

โรคนี้สามารถรักษาให้หายขาดได้ หากได้รับการคำแนะนำตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งหรือมะเร็งระยะแรก ส่วนการรักษานั้นเป็นไปตามแพทย์วินิจฉัยตามอาการของผู้ป่วย

ระยะของโรค

ระยะที่ 1

  • มีขนาดเล็ก แต่ยังไม่แพร่กระจาย

ระยะที่ 2

  • มีขนาดใหญ่ขึ้น แต่ยังไม่แพร่กระจาย

ระยะที่ 3

  • แพร่กระจายไปยังเนื้อเยื่อรอบข้างบางส่วน เช่น ต่อมน้ำเหลือง

ระยะที่ 4

  • แพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นในร่างกาย เช่น ตับและปอด และทำให้เกิดเนื้องอกในอวัยวะเหล่านั้น

แนวทางการป้องกันมะเร็งลำไส้

แนวทางการป้องกัน

1.รับประทานอาหารที่มีกากใยสูงเช่น

  • ผักมีกากใย
  • ผลไม้มีกากใย
  • อาหารที่มีส่วนประกอบของไขมันต่ำ

2.เข้ารับการตรวจคัดกรอง