Wednesday, 22 January 2025

อยากจับโกหก “ไม่ยาก” แค่เพียงไปถามสิ่งที่อยากรู้ตอนที่เขากำลังมีเรื่องที่สนใจอยู่

24 Dec 2022
249

Lifestyle อยากจับโกหกไม่ยาก แค่เพียงไปถามสิ่งที่อยากรู้ระหว่างที่เขานั้นกำลัง “โฟกัส” หรือจดจ่ออย่างอื่นอยู่ก็พอ แล้วคนคนนั้นก็จะไม่สามารถโกหกอะไรเราอีกได้ เพราะคนที่คุยกับเราเขาจะไม่มีสมาธิโกหกเราได้ในตอนที่เขานั้นกำลังคิดหรือกำลังจดจ่อสิ่งนั้นอยู่

สล็อต xo Slotxo

อยากจับโกหกไม่ยาก แค่ลองแอบถามระหว่างเขา “โฟกัส” อย่างอื่นอยู่ แค่นี้ก็ทำให้คนที่เราพูดอยู่นั้นพูดความจริงออกมา

อยากจับโกหกไม่ยาก อยากจับโกหกไม่ยาก แค่ลองแอบถามระหว่างเขา “โฟกัส” อย่างอื่นอยู่

รู้หรือไม่ว่าในสมัยโบราณเคยมีผู้เชี่ยวชาญทำการวิจัยเกี่ยวกับการ “โกหก” ว่ามนุษย์นั้นโกหกบ่อยมากน้อยแค่ไหน และผลที่ออกมานั้นปรากฏว่ามนุษย์มากกว่า 60 เปอร์เซ็นต์ ยอมรับว่าพวกเขานั้นโกหกหลังจากเริ่มต้นพูดคุยกับคนไม่รู้จักไปได้แค่เพียง 10 นาที

และอีกหนึ่งงานวิจัยนั้นก็บอกว่าในหนึ่งวันของมนุษย์นั้นสามารถพูดโกหกได้มากถึง 100-200 ครั้ง ด้วยเหตุผลที่ส่ามาทั้งหมดทั้งมวลนี้แหละคือสาเหตุที่ทำให้อัลเดิร์ต ริจ (Aldert Vrij)  ศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยาสังคมประยุกต์ แห่งมหาวิทยาลัยพอร์ตสมัธ (University of Portsmouth) ทำวิจัยเกี่ยวกับเรื่องราวนี้

การศึกษาในครั้งนี้ Aldert Vrij ไม่ได้ตั้งใจจะศึกษาเกี่ยวกับประเด็นการโกหกเฉพาะเจาะจง แต่ Aldert Vrij นั้นจะศึกศึกษาเกี่ยวกับการจับโกหกมากกว่า Aldert Vrij นำเสนอแนวความคิดที่ว่าถ้ามนุษย์ถูกเพิ่มภาระทางความคิดจนมากเกิน การโกหกจะทำได้ยากลำบากขึ้น

นักวิจัยเผยวิธีจับโกหกคนง่ายๆ

นักวิจัยท่านนี้ทำการทดลองโดยการศึกษาผ่านอาสาสาสมัครที่มาเข้าร่วมการทดลองจำนวน 164 คน อาสาสมัครจะถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มที่หนึ่งนั้นจะเป็นกลุ่มที่พูดความจริงทุกอย่าง ส่วนกลุ่มที่สองนั้นเป็นกลุ่มที่อาสาสมัครรั้รจะต้องพยายามพูดโกหกให้มากและเนียนมากที่สุด

การทดลองดังกล่าวนั้นจะให้อาสาสมัครทำจากการให้ลองจำทะเบียนรถที่ขับสวนกันในตอนที่กำลังทำการทดสอบ ซึ่งผลการทดลองที่ออกมานั้นปรากฏว่า กลุ่มที่สองที่ต้องโกหกเกี่ยวกับทะเบียนรถนั้นสามารถหลอกลวงหรือโกหกผู้สัมภาษณ์ได้ไม่มากเลยสักนิด

และที่เป็นแบบนั้นเป็นเพราะว่าสมองของอาสาสมัครกลุ่มนั้นไม่มีสมาธิมากพอในการจดจำและโกหกไปพร้อมกันได้ มันคล้ายกันว่าอาสาสมัครกลุ่มนนั้นเขาจะต้องเลือกทำอะไรสักอย่างแค่เพียงอย่างเดี่ยวเท่านั้น พวกเขาไม่สามารถทพทั้งสองอย่างได้พร้อมๆกัน

แนวคิดเรื่องการจับโกหก

หลังจากที่ผลงานการวิจัยดังกล่าวถูกนำไปตีพิมพ์และเผยแพร่ออกไป ก็มีผู้คนจำนวนมากให้ความสนใจจนมันเกิดเป็นข่าวดังในช่วงหนึ่ง เพราะเนื้อหาที่มีความสอดคล้องกันกับมนุษย์จริงๆ แต่หารู้ไหมว่างานวิจัยดังกล่าวนี้เป็นแค่เพียงหนึ่งในส่วนของงานวิจัยที่ทาง Aldert Vrij พยายามนำเสนอแนวคิดเรื่องการจับโกหกเท่านั้น

อย่างเช่นผลงานการวิจัยของนักวิจัยที่มีชื่อว่า พาเมลา ไมเยอร์ (Pamela Meyer) นักเขียนหนังสือเกี่ยวกับการโกหกอัที่มีชื่อเสียงก้องโลกเขาก็เคยบอกเอาไว้ว่า มนุษย์สามารถจับโกหกมนุษย์ด้วยกันได้ผ่านภาษาและพฤติกรรมที่แสดงออกมา เช่น การใช้ภาษาที่ดูห่างเหินกว่าปกติ

รวมไปจนถึงภาษากายที่เป็นที่น่าสังเกต ยกตัวอย่างเช่น การหลบสายตาหรือกะพริบตาบ่อยมากกว่าปกติ สิ่งทั้งหมดทั้งมวลที่บอกมานั้นล้วนแล้วแต่เป็นข้อสังเกตที่พอพูดไปถึงการโกหกได้ทั้งนั้น แต่ก็จะเห็นได้ว่ามันใช้ไม่ค่อยได้ในชีวิตจริงสักเท่าไหร่ เนื่องจากการสังเกตไม่ได้มีความเฉพาะเจาะจงในเรื่องราวมากพอ

อยากจับโกหกไม่ยาก แคค่ทำตามเทคนิกของนักวิจัยง่ายๆนี้

รวมถึงโอกาสที่จะได้พูดคุยกับมนุษย์ด้วยกันแบบใกล้ชิด ก็ไม่ค่อยจะเกิดขึ้นเป็นประจำมากสักเท่าไหร่ แต่ก็เพราะเหตุผลนี้เอง ที่ทำให้งานวิจัยล่าสุดของ Aldert Vrij ที่ได้รับความสนใจ เนื่องจากวิธีการที่เราว่ามานั้นสามารถทำได้ง่าย และยังสามารถจี้ถามไปยังเรื่องที่เราอยากรู้ได้ทันที ไม่ต้องคอยเฝ้าพะวงใดๆ

สุดท้ายนี้ต้องขอบอกก่อนเลยนะว่าแม้ว่าผลการวิจัยดังกล่าวนั้นจะมีผลออกมาแบบนี้ แต่ก็ไม่มีใครแนะนำให้ทุกคนเป็นคนโกหกนะ เพราะการพูดความจริงและแสดงความมจริงใจต่อกันนั้นเป็นอะไรที่ดีมากกว่า แถมยังไม่ต้องเหนื่อยที่มาคอยโกหกและจับผิดกันแบบนี้ยังไงล่ะ