Sunday, 24 November 2024

ทีมวิจัยสร้าง smart watch เลี้ยง “น้องราเมือก” ที่อาจพังได้ ถ้าไม่ป้อนข้าว ป้อนน้ำ

น้องราเมือก ถูกนักวิจัยนำมาใส่ใน “Smart Watch” ให้ทดลองเลี้ยงแบบTamagotchi” ที่อาจพังและตายได้ ถ้าไม่ป้อนข้าว ป้อนน้ำมันตรงเวลา ข่าวต่างประเทศ ว่าแต่มันจะเป็นอย่างไรถ้ามาเลี้ยงเจ้าราใน Smart Watch เดี่ยวตามไปดูพร้อมกันได้เลย

สล็อต xo Slotxo

น้องราเมือก ถูกนักวิจัยนำมาใส่ใน “สมาร์ทวอทช์” ให้อารมณ์เหมือนเลี้ยง “ทามาก็อต”

น้องราเมือก-ถูกนักวิจัยนำมาใส่ใน “สมาร์ทวอทช์”

Smart Watch สุดแปลกที่เรานำมาให้ทุกคนได้ดูในวันนี้ถูกสร้างขึ้นมาโดยนักวิจัย 2 ท่านจาก The University of Chicago ที่มีชื่อว่า Jasmine Lu และ Pedro Lopes นักวิจัย 2 คนนี้ได้นำสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวนั่นก็คือ ราเมือก (Physarum polycephalum) มาใส่ไว้ด้านในของ Smart Watch นี้

Physarum polycephalum

ส่วนนสาเหตุที่เขาใส่ ราเมือก เอาไว้ในที่ดังกล่าวนั้นคือเขาต้องการนำไฟฟ้าไปจ่ายให้กับ heart rate monitor ซึ่งตัวผู้ใช้งานนั้นจำเป็นต้องดูแลมันให้ดีอย่างเหมาะสม และที่สำคัญต้องคอยป้อนหรือให้อาหาร อย่างเช่น ข้าวโอ๊ตและน้ำอย่างสม่ำเสมอลงไปเพื่อช่วยให้ ราเมือก เจริญเติบโตจนวงจรไฟฟ้าสามารถทำงานได้สมบูรณ์

สำหรับ idea smart watch ดังกล่าวถูกนำมาทดลองโดยกลุ่มอาสาสมัครเพศหญิงจำนวน 5 คน โดยอาสาสมัครแต่ละคนนั้นจะต้องใส่ smart watch นี้เป็นเวลา 14 วัน โดย 7 วันแรกต้องป้อนอาหารป้อนน้ำให้ ราเมือก เพื่อให้ Features วัดอัตราการเต้นของหัวใจทำงาน

น้องราเมือก-ถูกนำมาเลี้ยง

ส่วนวันที่ 8-14 ผู้ใช้ต้องหยุดให้อาหารมันจึงแห้ง หดตัว และส่งผลทำให้ไม่สามารถนำไฟฟ้าไปยัง Featuresดังกล่าวได้นอกจากนี้ตลอดระยะเวลาราว 14 วัน อาสาสมัครยังต้องบันทึก และตอบคำถามเกี่ยวกับความรู้สึกของพวกเขาที่มีต่ออุปกรณ์ที่มีชีวิตนี้ด้วย

ผลที่ออกมาก็คืออาสาสมัครส่วนมากเกิดความรู้สึกผูกพันกับเจ้าสิ่งนี้อย่าไงม่น่าเชื่อ เพราะมีอาสาสมัครบางคนรู้สึกผิด และเสียใจที่ทำให้ ราเมือก ตายอาสาสมัครบางคนถึงขั้นตั้งชื่อมันอย่างกับมันเป็นสัตว์เลี้ยงเลยก็มี อย่างไรก็ตาม smart watch ให้ฟีล Tamagotchi นี้ไม่มีการระบุว่าจะมีการสร้างขึ้นจริง

ทีมวิจัยสร้าง smart watch เลี้ยง “น้องราเมือก” ที่อาจพังได้ ถ้าไม่ป้อนข้าว ป้อนน้ำ

เพียงแค่เป็นการศึกษาที่อาจสื่อให้เห็นถึงความเชื่อมโยงกันของผู้คนกับอุปกรณ์ทางเทคโนโลยี เพราะทำให้เห็นว่าการดูแลรักษาอุปกรณ์ อาจส่งผลให้เกิดความผูกพันของเราต่อสิ่งของชิ้นนั้นๆ ได้ สุดท้ายนี้ ทางทีมวิจัยยังคาดหวังว่าการศึกษาของพวกเขาจะช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้สร้างอุปกรณ์ที่ก่อให้เกิดความผูกพันที่เป็นประโยชน์ร่วมกันมาก