Friday, 22 November 2024

ซาก!! อะไรเอ่ยอยู่ในกระป๋อง สาวช็อกเทน้ำดื่มแต่ไม่ได้น้ำ!!สุดงง มันคืออะไร’ อ.เจษฎา คาดมันน่าจะเป็น “เชื้อราในน้ำ”

ซาก!! อะไรเอ่ยอยู่ในกระป๋อง สาวช็อกเทน้ำดื่มแต่ไม่ได้น้ำ!!สุดงง มันคืออะไรสาวถามโซเชียล เทออกมาเจอน้ำเป็นแผ่น’ อาจารย์ “เจษฎา” คาดมันน่าจะเป็น “เชื้อราที่อยู่ในน้ำ” ข่าวเด่นออนไลน์หลังจากที่มีสาวคนหนึ่งแชร์เรื่องราวมามันก็กลายเป็นกระแสบนโลกออนไลน์ สำหรับคนที่ชอบดื่มน้ำอัดลมทันที

สล็อต xo Slotxo

อะไรเอ่ยอยู่ในกระป๋อง “น้ำอัดลม” สาวถามโซเชียล เทออกมาเจอ “น้ำ” ออกมาเป็น “แผ่น”

อะไรเอ่ยอยู่ในกระป๋อง-“น้ำอัดลม”

เมื่ออังคารที่ 30 สิงหาคม 2022 ที่ผ่านมามีผู้ใช้งาน Facebook ท่านหนึ่งได้นำรูปภาพถ่ายแชร์ลงบนหน้าไทมไลน์เป็นภาพ “กระป๋องน้ำอัดลม” ยี่ห้อดังยี่หนึ่ง ซึ่งเป็นรูปภาพที่แปลกๆ ประหลาดๆ แปลกๆหลาดที่ว่านั้นก็คือ “น้ำ” กลายเป็น “เนื้อ” พร้อมกับเขียนแคปชั่นเอาไว้ประมาณว่า

สาวช็อกเทน้ำดื่มแต่ไม่ได้น้ำ!!สุดงง มันคืออะไรสาวถามโซเชียล เทออกมาเจอน้ำเป็นแผ่น

“WTF!!! เปิดกระป๋อง “เท” น้ำออกมาแล้วพบเจอกับสิ่งนี้น้องมาเป็น “แผ่น” เป็น “เนื้อ” เลย แล้วก็อยากทราบว่ามันคืออะไร เพราะอิฉันในตอนนี้ก็ไม่ทราบเหมือนกัน รู้แต่ว่าแผ่นเนื้อที่ออกมานั้นมันไหลออกมาจากกระป๋องน้ำอัดลมที่เราซื่อมาดื่มแล้วแช่เย็นไว้ รู้แค่ว่ามันคล้ายกันกับซากของอะไรบางอย่าง บอกไม่ถูกจ๊วกกกกก”

อะไรเอ่ยอยู่ในน้ำอัดลม

อัพเดทนะคะในตอนนี้ทางบริษัทนั้นได้ติดต่อส่งเจ้าหน้าที่เข้ามาขอรับชิ้นส่วนแผ่นเนื้อ ที่หลุดออกมาจากกระป๋องน้ำเครื่องดื่มที่ซื้อมา เพื่อนำชิ้นส่วนดังกล่าวนั้นไปตรวจสอบข้อเท็จจริง แล้วเขาจะบอกว่ามันคืออะไร เดี๋ยวถ้าทราบแล้วว่ามันคืออะไร จะมาแจ้งให้ทราบอีกทีนะคะ

อะไรเอ่ยอยู่ในกระป๋อง- เป็นชินๆเลย

เมื่อโพสต์ดังกล่าวถูกแชร์ลงบนโลกออนไลน์ ชาวเน็ตจากทั่วทุกมุมโลกต่างก็เข้ามาแสดงความคิดเห็น และแชร์ออกไปเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะคนที่ชอบดื่มเครื่องดื่มน้ำอัดลม ซึ่งในเวลาต่อมาทางด้านของ “อาจารย์เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์” อาจารย์ประจำ Department of Biology Faculty of Science Chulalongkorn University ก็ได้เป็นหนึ่งคนที่เข้ามาแสดงความคิดเห็นกับรูปภาพที่ถูกแชร์ลงมาเมื่อก่อนหน้านี้ พร้อมบอกว่ามันน่าจะเป็น “เชื้อรา” ที่อยู่ในน้ำนะครับ ซึ่งเจ้าเชื้อราบางชนิดนั้นสามารถเข้าไปเจริญเติบโต อยู่ภายในเครื่องดื่มชนิดที่มีน้ำตาลได้ ถ้าหากว่าบรรจุภัณฑ์นั้นมีรอยรั่วซึม ซึ่งมักจะเกิดจากการขนส่งหรือจัดเก็บที่ไม่ได้คุณภาพ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้บ่อยครั้ง