Saturday, 23 November 2024

รู้หรือไม่ว่า!! การแพทย์ยุคหินล้ำสมัย เมื่อ 31,000 ปีที่แล้ว แพทย์ทำการผ่าตัดผู้ป่วยปราศจากร่องรอยการติดเชื้อ สุดน่ามหัศจรรย์

ประวัติศาสตร์ รู้หรือไม่ว่า!! การแพทย์ยุคหินล้ำสมัย มากกว่าที่คิดเมื่อ 31,000 ปีที่แล้ว เพราะแพทย์ทำการผ่าตัด “ขา” ผู้ป่วยปราศจากร่องรอยการติดเชื้อสุดน่ามหัศจรรย์ หลังจากที่ทีมนักโบราณคดีได้ไปขุดพบโครงกระดูกของมนุษย์ยุคหินเก่าที่มีอายุกว่าสามหมื่นปีในถ้ำ Kalimantan บนเกาะ Borneo

สล็อต xo Slotxo

การแพทย์ยุคหินล้ำสมัย มากกว่าที่คิด เพราะแพทย์นั้นสามารถตัดขาได้ โดยที่ “ไม่ติดเชื้อ”

การแพทย์ยุคหินล้ำสมัย-มากกว่าที่คิด

สืบเนื่องมาจากทีมนักโบราณคดีชาว Indonesia และ Australia ขุดเจอโครงกระดูกของมนุษย์ Paleolithic ที่คาดว่าน่ามีอายุมากกว่า 30,000 ปี อยู่ภายในถ้ำ Kalimantan บนเกาะ Borneo ความแปลกที่ทำให้หลายคนแปลกใจคือ โครงกระดูกนี้มีร่องรอยของการผ่าตัดทางการแพทย์ที่น่าอัศจรรย์ใจอยู่

จากการสังเกตและดูโครงกระดูกที่ขุดพบในถ้ำ Liang Tebo เมื่อปี 2020 ในเขต Kalimantan Timur ฝั่ง east of indonesia บอกว่าโครงกระดูกชิ้นที่พวกเขานั้นพบเจอ คือร่างกายของชายหนุ่มหรือหญิงสาวน่าจะอยู่ในช่วงวัย 19-21 ปี โดยเขาหรือเธอมีร่องรอยการถูกตัดขาท่อนล่างด้านซ้ายออก

 รู้หรือไม่ว่า!! การแพทย์ยุคหินล้ำสมัย เมื่อ 31,000 ปีที่แล้วล้ำสมัยมากๆ

สิ่งที่ทำให้ทุกคนนั้นตกใจเป็นอย่างมากนั้นก็คือ รอยตัดกระดูกขาในแนวเฉียงถูกตัดด้วยความประณีตแม่นยำแลดูสวยงามสม่ำเสมอ อีกทั้งยังปราศจากร่องรอยการ “ติดเชื้อ” ที่นิยมเกิดขึ้นภายหลังจากการผ่าตัดในสมัยโบราณนั้น แถมยังมีการเจริญเติบโตของเซลล์กระดูกใหม่โดยรอบ ที่สาสามารถบ่งบอกได้อย่างชัดเจนว่า ร่างของคนนี้นั้นในอดีตเขาเคยได้รับการผ่าตัดโดยแพทย์ที่มีความสามารถขั้นสูงสุด เพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยบางอย่างที่เกิดขึ้นในวัยเด็กหรือวัยรุ่นช่วงเริ่มแรก

งานวิจัยนี้ถูกเผยแพร่ผ่าน Nature ที่เขียนเอาไว้ว่าผลการตรวจสอบถ่านไม้ในชั้นดินที่ฝังร่างโครงกระดูกด้วยวิธี Radiocarbon dating รวมทั้งผลตรวจวัดการสลายตัวของ Isotopes Uraniumในฟัน และ chemical substance ที่หลงเหลือที่เคลือบฟันอยู่ บ่งบอกว่าคนคนนี้เคยมีชีวิตอยู่ในช่วงปลายยุค Paleolithic เมื่อประมาณ สามหมื่นหนึ่งพันปีก่อน และการตัดขาของหญิงหรือชายอาจเป็นการผ่าตัดรักษาทางการแพทย์ครั้งแรกเริ่มต้นของโลกที่สามารถทำได้สำเร็จและสวยงามแบบนี้

แพทย์ทำการผ่าตัดผู้ป่วยปราศจากร่องรอยการติดเชื้อ สุดน่ามหัศจรรย์

ศาสตราจารย์ Maxime Aubret หนึ่งในทีมผู้วิจัยจาก Griffith University ของ Australia บอกว่า การค้นพบในครั้งนี้สามารถเปลี่ยนแปลงความเข้าใจเกี่ยวกับวงการแพทย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้อย่างมาก ว่ามนุษย์ยุคหินมีความรู้ “เรื่องกายวิภาค” มากกว่าที่เราคาดการณ์เอาไว้ การที่คนๆนี้มีรอดชีวิตจากการถูกตัดขาในวัยเด็กมาได้ และเขานั้นสามารถเจริญเติบโตมาเป็นผู้ใหญ่ มันก็หมายความว่าแพทย์ที่ทำการผ่าตัดในยุคนั้น จะต้องมีเครื่องมือหินที่มีประสิทธิภาพ แถมยังต้องทราบวิธีห้ามเลือด รวมทั้งอาจจะใช้ยาสมุนไพรที่หาได้ในป่าฝนของเกาะ Liang Tebo เพื่อนำมาฆ่าเชื้อและหยุดความเจ็บปวดได้ด้วย”

ตั้งแต่สมัยโบราณนักวิทยาศาสตร์และนักโบราณคดีเชื่อกันว่า มนุษย์ยุค Paleolithi ไม่สามารถจะรักษาโรคด้วยวิธีทางการแพทย์ที่มีขั้นตอนยุ่งยาก อย่างเช่น “การผ่าตัด” ส่วนต่างๆอาทิตัดแขนหรือตัดขาของผู้ป่วยออกได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคที่เกษตรกรรมและการตั้งหลักแหล่งถาวรยังไม่มี

การแพทย์ยุคหินล้ำสมัย-ผ่าตัดขาได้สำ-เร็จ

ก่อนหน้านี้เคยได้รับหลักฐานเก่าแก่ที่สุดในโลกของการตัดแขนและตัดขา medical reasons นั้นระบุเอาไว้ว่าเกิดขึ้นเมื่อประมาณเจ็ดพันปีที่แล้ว โครงกระดูกชิ้นที่พบเจอนั้นคาดว่าน่าจะเป็นของชายชราคนหนึ่ง ที่พวกเขานั้นขุดพบในฝรั่งเศส เป็นร่องรอยการตัดแขนบริเวณข้อศอกลงมา

ทีมผู้วิจัยกล่าวสรุปว่าสิ่งที่พวกเขานั้นพพบเจอในครั้งนี้สร้างความประหลาดใจเป็นอย่างมาก เพราะว่าการรักษาอาการป่วยของมนุษย์สสมัยโบราณไม่สามารถตัดแขนตัดขาให้ปลอดภัยได้ เพราะยุคสมัยนั้นยังไม่มียาปฏิชีวนะ ซึ่งวิธีการดังกล่าวนั้นเสี่ยงที่คนไข้จะเสียชีวิตด้วยสาเหตุต่างๆได้ง่าย อาทิ การเสียเลือดมาก เกิดภาวะช็อก หรือติดเชื้อรุนแรง

การแพทย์สมัยโราณไม่ได้ย่ำแย่

แต่การศึกษาล่าสุกที่พวกเขาพบเจอนั้นมันกลับเป็นไปคนละทิศคนละทาง เพราะว่ามนุษย์โบราณเมื่อ 30,000 ปีที่แล้วที่พวกเราพบเจอนั้นเขาทเรื่องที่พวกเราไม่คาดคิดได้ อีกทั้งพวกเขานั้นยังมีวิธีการดูแลผู้ป่วยและคนพิการรที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านได้เป็นอย่างดี ดีจรสามารถทำให้คนที่ต้องตัดขาทิ้งไปหนึ่งข้าง สามารถมีชีวิตอยู่ได้ในเขตป่าเขาที่สูงชันและรกทึบ