Friday, 15 November 2024

นักโภชนาการเตือน!!เมนูดิบเสี่ยงรับเชื้อโรค พยาธิไช เลือดออกในสมอง อาจทำให้ “ตาบอด” ได้

06 Sep 2022
256

Nutritionist สุขภาพ เตือนเมนูดิบ เสี่ยงรับเชื้อโรค พยาธิชอนไชเข้าไปทำให้เลือดออกในสมอง อาจทำให้ “ตาบอด” แนะนำให้ทานสุกปรุงใหม่หลีกเลี่ยงได้ให้ทำได้โดยเฉพาะเมนู “ปูนา-กุ้งเต้นเป็นๆ -หมึกช็อต” ที่หากทานเข้าไปเสี่ยงรับเชื้อโรคและพยาธิ ส่งผลอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต

สล็อต xo Slotxo

เตือนเมนูดิบ “ปูนา-กุ้งเต้นเป็นๆ -หมึกช็อต” เสี่ยงรับเชื้อโรค-พยาธิอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต

เตือนเมนูดิบอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต

Nutritionist  เตือนอาหารเมนูดิบๆกึ่งสุกกึ่งดิบอย่างเช่น เมนู ปูนานาดอง-หมึกช็อต-กุ้งเต้น ถ้าหากเรารับประทานเข้าไปเราแจเสี่ยงรับเชื้อโรค และอาจได้รับพยาธิเข้าไปชอนไชทำให้เลือดออกในสมอง จนส่งผลเป็นอันตรายสูงสุดถึงขั้นตาบอด ซ้ำร้ายถ้าหากอาหารปนเปื้อนอาจทำให้เสียชีวิตได้ทันที สสส. แนะนำให้ประชาชนนั้นหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารดิบๆ ให้เลือกทานอาหารที่ปรุงสกปรุงใหม่เท่านั้นเพื่อสุขลักษณะที่ดีผู้ช่วยผู้จัดการ (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ) ThaiHealth บอกว่าในยุคสมัยนี้กระแสการรับประทานอาหารของคนไทยในยุคปัจจุบันนั้น นิยมรับประทานอาหารแบบดิบๆ ที่เป็นอันตรายอย่างเช่น ปูนาที่ยังไม่ผ่านความร้อน ปลาหมึกสดๆ กุ้งเต้น ซึ่งอาหารที่กล่าวมานั้นประชาชนคนนั้นไม่ได้นำไปผ่านความร้อน

ปูนา-กุ้งเต้นเป็นๆ -หมึกช็อต เสี่ยงพยาธิ

ถือว่าการกระทำดังกล่าวของคนบางกลุ่มนั้นแสดงให้เห็นถึงความอยากรู้อยากลอง บวกกับกระแสบนโลกออนไลน์ที่ชาวเน็ตทั่วโลกนั้นได้แชร์ คลิปวีดีโอการรับประทานอาหารที่แปลกๆดิบๆผ่านสื่อโซเชียล จนบางเมนูอาหารดิบๆที่ไม่น่ารับประทานกลายมาเป็นเมนูยอดนิยมที่ผู้คนอยากทดลอง เพราะว่าเมนูแปลกใหม่นั้นมีวิธีการรับประทานที่แปลกใหม่และน่าทดลอง และมันน่าตะเข้าไปกระตุ้นต่อมความอยากรู้อยากเห็นอยากลอง และการเป็นการกระทำเลียนแบบ  การปรุงอาหารอย่างถูกต้องตามหลักตามสากลและการปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยที่โลกกำหนดนั้น ถือว่าช่วยความเสี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสารปนเปื้อน ที่คือต้นเหตุเกิดปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในระยะยาว และการรับประทานอาหารให้ปลอดภัยนั้นควรยึดหลักตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก 5 ประการ

  • รักษาความสะอาด
  • แยกอาหารดิบจากวัตถุดิบอื่นๆ
  • ปรุงสุกทั่วถึง
  • เก็บอาหารในอุณหภูมิที่เหมาะสม
  • ใช้น้ำสะอาดและวัตถุดิบที่ปลอดภัยในการปรุงอาหาร

หัวหน้าหน่วยจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีชีวภาพทางอาหาร Mahidol University  บอกว่าการรับประทานปูนาดิบถือว่าเป็นหนึ่งความเสี่ยงที่เรานำเข้าไปสู่ภายในร่างกาย ความเสี่ยงที่ว่านั้นคือ พยาธิใบไม้ในปอดและพยาธิปอดหนู ที่มันสามารถเข้าสู่ร่างกายและไปทำอันตรายสุขภาพร่างกายของคนที่รับประทานได้ และเมื่อมันเข้าสู่ลำไส้และสามารถชอนไชเข้าสู่ปอดมันจะทำให้เรานั้นมีอาการไอไม่หยุดและมีอาการเจ็บที่บริเวณร่างกาย พยาธิปอดหนู นอกจากอาการนั้นแล้วมันยังจะส่งผลให้คนรับประทานเข้าไปมีไข้ แล้วปวดหัวอาเจียนแล้ว อันตรายสูงสุดที่มันสามารถทำได้นั้นก็คือทำให้ “ตาบอด”

นักโภชนาการเตือน!!เมนูดิบเสี่ยงรับเชื้อโรค

ปลาหมึกที่ยังมีชีวิตอยู่ที่แช่อยู่ภายในแก้วน้ำจิ้มซีฟู้ด เมื่อเรารับประทานเข้าไปในร่างกายมันจะทำให้เรานั้นมีโอกาสเสี่ยงได้รับเชื้อโรค “อหิวาต์เทียม” เมื่อร่างกายของเราได้รับเชื้อแล้วมันจะทำให้ร่างกายของเรานั้นป่วย แล้วมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง ทำให้เรานั้นท้องเสียอย่างหนัก หากโชคร้ายหน่อยถึงหนักขั้นลำไส้อักเสบ แถมว่ายังเสี่ยงพยาธิต่างที่อันตราย ที่ก่อให้ร่างกายนั้นเกิดอาการเจ็บปวดท้อง แน่นท้อง คลื่นไส้ ท้องอืด ถ้าหากว่าพยาธิขยับตัวมันก็จะทำให้เรานั้นมีแผลที่ลำไส้ และความรุนแรงจากรับประทานอาหารที่ดิบและมีการปนเปื้อนในปริมาณที่มากและบ่อยเกินไป มันจะส่งผลให้ร่างกายของเรานั้นเจ็บป่วยง่าย และอาจเสียชีวิตหากมันอยู่ในขั้นที่รุนแรงมากๆ

เตือนเมนูดิบ-กินบ่อยไม่ดีต่อสุขภาพ

ผศ.ดร.วรงค์ศิริ บอกเพิ่มเติมว่า พยาธิที่อยู่ในอาหารดิบแม้เรานั้นรับประทานมันไม่เยอะจนเกินไป แต่มันก็สามารถทำอันตรายกับร่างกายของเราได้ เพราะพยาธิมันสามารถฟักตัวและเจริญเติบโตอยู่ภายในร่างกายของคนที่รับประทานมันเข้าไปได้ และมันก็จะทำให้เกิดความผิดปกติกับระบบร่างกาย เคสที่รุนแรงมากที่สุดนั้นพยาธิเคลื่อนตัวไปอยู่ที่อวัยวะต่างๆ เช่น ตับ ลำไส้ กล้ามเนื้อ ปอด และสมอง อาจทำให้เกิดอันตรายถึงขั้นปอดอักเสบหรือสมองอักเสบและอาจเสีงชีวิตได้ วิธีป้องกัน

1.หลีกเลี่ยงบริโภคอาหารดิบ

  • หลีกเลี่ยงอาหารสุกๆ ดิบๆ

2.การล้างวัตถุดิบด้วยน้ำสะอาดทุกครั้งก่อนนำมาประกอบอาหาร

3.ปรุงสุกที่อุณหภูมิมากกว่า 70 องศาเซลเซียส

  • ใช้เวลานาน 5 นาทีขึ้นไป

4.เก็บรักษาเนื้อสัตว์ที่อุณหภูมิเย็นจัด

5.เลือกซื้ออาหารหรือรับประทานอาหาร

  • จากร้านอาหารที่สะอาด
  • ถูกสุขลักษณะ

6.เพื่อสร้างความปลอดภัยในการบริโภค

  • เน้นรับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่
  • ลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค
  • ที่มีอาหารและน้ำเป็นตัวกลาง