อาหาร–สุขภาพ ไข่แดง คอเลสเตอรอลสูง ไม่ควรรับประทาน แพทย์ยืนยัน “ไม่ใช่” เรื่องจริงถ้ากินแล้วคอเลสเตอรอลสูง ไม่ควรออกกำลังกาย จริงหรือไม่จริง!? แพทย์ยืนยัน “ไม่ใช่” เรื่องจริงเพราะทางการรักษาและคำแนะนำแพทย์ไม่เคยห้ามไม่ให้ทานไข่แดง แต่แนะนำให้จำกัดปริมาณการรับประทานในแต่ละวัน
ไข่แดง คอเลสเตอรอลสูง “ห้ามกิน” ถ้ากินแล้วไม่ควรออกกำลังกาย จริงหรือไม่จริง!?
คนที่มี Cholesterol สูงไม่ควรกินไข่แดง!! เชื่อว่าประโยคที่เราเกริ่นมาเมื่อตอนต้นนี้หลายๆคนเคยได้ยินผ่านหูมาบ้างแล้ว แน่นอนว่าสิ่งที่เราได้ยินมานั้นมันไม่มีหลักฐานและไม่มีอะไรสามารถยืนยันได้ว่ามันเป็นเรื่องจริงหรือเรื่องไม่จริง และก็มีคนที่เชื่อและไม่เชื่อบ้างกับสิ่งที่เรากล่าวมา
บอกเลยวันนี้ใครที่สงสัยกับเรื่องราวที่เราเกริ่นมาเมื่อตอนต้นนั้นมาถูกทางมาก เพราะว่าในวันนี้เราจะพาทุกคนไปดูว่าความจริงเรื่องนี้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญนั้นจะบอกว่าอย่างไร มันใช่เรื่องจริงหรือเรื่องที่ไม่จริงกันแน่ โดย ผศ. พญ.ดรุณีวัลย์ วโรดมวิจิตร ประจำคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล บอกว่า
คอเลสเตอรอลสูง ห้ามกินไข่แดง?
เรื่องราวที่กล่าวมาเมื่อตอนต้นนั้นไม่ใช่เรื่องจริงอย่างแน่นอน เพราะทางการแพทย์การรักษาและคำแนะนำนั้นไม่เคยเขียนเอาไว้ว่า “ห้าม” ไม่ให้คนที่มีภาวะคอเลสเตอรอล Cholesterol สูง รับประทานไขแดง แต่จะมีแค่เพียงคำแนะนำให้พวกเขาเหล่านั้น “จำกัด” ปริมาณในการรับประทานไข่แดงอย่างเหมาะสม
- โดยในแต่ละวันคนที่มีภาวะคอเลสเตอรอล Cholesterol สูง
- ไม่ควรทานไข่แดงเกิน 3 ฟองต่อเจ็ดวัน
- แต่สำหรับไข่ขาวสามารถรับประทานได้ตามความต้องการ
คอเลสเตอรอลสูง ไม่ควรออกกำลังกาย
นี่คุณหมอนั้นก็ขอยืนยันอีกครั้งและอีกรอบว่าเรื่องนี้ไม่เป็นความจริง เพราะโดยปกติแล้วคอเลสเตอรอล Cholesterol จะมีทั้งคอเลสเตอรอล Cholesterol ที่มีประโยชน์ และคอเลสเตอรอล Cholesterol ที่ไร้ประโยชน์ ดังนั้นการออกกำลังกายจะช่วยเพิ่มปริมาณคอเลสเตอรอลตัวที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
ดังนั้นในใครที่มีคอเลสเตอรอลสูง Cholesterol แพทย์ปละผู้เชี่ยงชาญจึงอยากขอแนะนำให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อช่วยเพิ่มคอเลสเตอรอล Cholesterol ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และจะช่วยให้สุขภาพของหลอดเลือดและหัวใจของคนที่ป่วยนั้นดีขึ้นได้ด้วย
คอเลสเตอรอลสูง ต้องกินยาตลอดชีวิต
เรื่องนี้แพทย์ขอยืนยันว่าเป็นเรื่องจริงแท้แน่นอนเพราะหากเมื่อไรก็ตามที่แพทย์ได้ทำการพิจารณาให้การรักษาของผู้ป่วยนั้นเป็นไปด้วยการ “กินยา” นั่นหมายความว่าการที่แพทย์พยายามให้กินยา นั้นเป็นเพราะแพทย์ต้องการป้องกันไม่ให้เกิดเส้นเลือดอุดตันหรือเส้นเลือดแตกเส้นเลือดตีบ หากใครที่เป็นหรือมีความเสี่ยงที่จะเป็น แพทย์อาจพิจารณาให้คนๆนั้นกินยาไปตลอดชีวิต เพื่อป้องกันไม่ให้เส้นเลือดอาการไม่ดีไปกว่าเดิม
- โรคหัวใจ
- หลอดเลือดสมอง
- อัมพฤกษ์
- อัมพาต
แต่สำหรับคนที่อายุยังน้อย และมีความเสี่ยงไม่มาก ไม่มีความเสี่ยงโรค เบาหวาน ความดัน ไม่สูบบุหรี่ หรือไม่มีความเสี่ยงโรคอันตรายร้ายแรงที่ทำให้เสี่ยงเสียชีวิต แพทย์อาจพิจารณาให้ควบคุมอาหาร และติดตามอาการต่อไป
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์