Wednesday, 26 June 2024

ไขข้อสงสัย!! ปรากฏหาวต่อกัน การตอบสนองของสมองส่วนเดียวกันกับความผิดปกติทูเร็ตต์ ซินโดรม

30 Mar 2022
221

ไขข้อสงสัย!! ปรากฏหาวต่อกัน จากงานวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ของ University of Nottingham บอกว่าเกิดจากการตอบสนองของสมองส่วนเดียวกันกับความผิดปกติทูเร็ตต์ ซินโดรม หรือเรียกอีกหนึ่งอย่างว่า อาการทางสุขภาพกระตุกซ้ำๆที่พบได้บ่อย บอกเลยวันนี้คนที่กำลังสงสัยว่าทำไมถึงหาวต่อกันต้องดู!!

สล็อต xo Slotxo

ปรากฏหาวต่อกัน ไขข้อสงสัยการตอบสนองของสมองส่วนเดียวกันกับความผิดปกติทูเร็ตต์ ซินโดรม

ปรากฏหาวต่อกัน-ไขข้อสงสัย

หาวนั้นถือว่าเป็นอีกหนึ่งพฤติกรรมของมนุษย์ต้องทำและมักมีการทำต่อกันหลังจากที่มีคนแรกทำ เชื่อว่ามีหลายคนมากสงสัยกับพฤติกรรมที่ว่ามาเมื่อข้างต้น ว่ามันเกิดอะไรขึ้นเกิดจากพฤติกรรมหรือกลไกลของร่างกาย บอกเลยวันนี้เรามีข้อคลายสงสัยเกี่ยวกับ “ปรากฏหาวต่อกัน”มาให้ทุกคนได้ดูส่วนสาเหตุที่แท้จริงแล้วมันคืออะไรเดี่ยวเราไปดูพร้อมกันเลย

ขข้อสงสัยการตอบสนองของสมอง

เมื่อไม่นานมานี้ทีมนักวิทยาศาสตร์จาก University of Nottingham ได้ทำการศึกษาพฤติกรรมการหาวติดต่อกันของมนุษย์ขึ้นมาด้วยการหาอาสาสมัครกลุ่มตัวอย่างจำนวน 36 คน และได้ให้ทั้งหมดนั้นจ้องมองผู้อื่นหาว โดยมีเงื่อนไขว่าบางคนนั้นต้องกลั้นอาการหาวไม่ออกมา ส่วนบางคนนั้นสามารถหาวตามได้อย่างปกติ หลังจากการทดลองครั้งแรกพบว่าความอยากหาวของมนุษย์นั้นขึ้นอยู่กับความไวต่อการกระตุ้นของแต่ละบุคคลและมันก็ถูกกระตุ้นมาจากสมองส่วนที่สั่งการการเคลื่อนไหวพื้นฐานของแต่ละคน

ปรากฏหาวต่อกัน-อาการหาว

อีกหนึ่งการทดลองนั้นก็คือใช้เครื่องกระตุ้นเซลล์สมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนผลลัพธ์ที่ออกกมานั้นพบว่าสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของมนุษย์เรานั้นไวต่อการถูกกระตุ้นเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมันส่งผลให้ผู้เข้าร่วมการทดลองนั้นเพิ่มโอกาสมากขึ้นในการลอกเลียนแบบพฤติกรรมของคนอื่นอย่างเช่นการหาวนั้นเอง

การทดลองนั้นก็คือใช้เครื่องกระตุ้นเซลล์สมอง

ผู้เชี่ยวชาญด้านการรับรู้ในภาควิชาประสาทวิทยา บอกว่าการค้นพบในครั้งนี้นั้นถือว่ามีประโยชน์และอาจจะนำมาใช้ในขอบเขตที่กว้างขึ้นได้กับผู้ป่วยทูเร็ตต์ ซินโดรม เพราะถ้าหากว่าเราสามารถลดความไวของสมองที่ถูกกระตุ้นได้ เราก็อาจช่วยลดอาการกระตุกซ้ำๆให้ลดลงได้เช่นกัน

ปรากฏหาวต่อกัน-การรับรู้ในภาควิชาประสาทวิทยา

ส่วนความคิดเห็นของนักวิทยาศาสตร์อีกท่านหนึ่งนั้นเสริมท้ายมาว่า หากพวกเราทำความเข้าใจกับการเปลี่ยนแปลงความไวของสมองที่ถูกกระตุ้นนั้นผิดปกติอย่างไร เราก็อาจจจะรักษาในทางกลับกันได้ ส่วนเป้าหมายหลักที่สำคัญมากก็คือหนทางรักษาโดยที่ไม่ต้องพึ่งยา อย่างเช่นการใช้เครื่องทีเอ็มเอสในการปรับความสมดุลของระบบประสาท

ปรากฏหาวต่อกัน-แปลกประหลาด

ส่วนนักจิตวิทยาที่วิจัยความเชื่อมโยงความรู้สึกร่วมกับการหาว บอกว่าวิธีใหม่ที่ใช้เครื่องทีเอ็มเอสในการศึกษาพฤติกรรมหาวนี้อาจไม่เกี่ยวกับกระบวนการทางความรู้สึกก็ได้ อย่างไรก็ตามงานวิจัยนี้ก็ถือว่าเป็นงานวิจัยที่ยังใหม่อยู่และยังต้องหาข้อมูลมาเพิ่มเติมในการศึกษาครั้งต่อไป