เครียดเรื่องงานรับมือ อย่างไรให้ไม่เสียสุขภาพกายสุขภาพจิตใจและการใช้ชีวิต จากปริมาณงานที่กองท่วมตัวจนล้นมือของคนวัยทำงาน บอกเลยวันนี้มนุษย์เงินที่ตั้งหน้าตั้งตาทำงานเก็บเงินนั้นต้องดูห้ามพลาดเด็ดขาด เพราะว่าในวันนี้เรามีวิธีจัดการกับความเครียดจากงานจากเพื่อนร่วมงานหรือจากหัวหน้างานมาแนะนำให้ลองไปทำตาม
เครียดเรื่องงานรับมือ อย่างไรให้สุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตใจดีจากปริมาณงานที่ล้นมือ
เครียดเรื่องงานถือว่าเป็นเรื่องปกติที่ไม่แปบกสำหรับคนที่คนทำงานเกือบทุกคน 100 เปอร์เซ็นต์คงต้องเคยเจอ!! และความเครียดนั้นสามารถมาได้จากหลายปัจจัยไม่ว่าจะเป็นความเครียดจากปริมาณงานที่มีมากจนทำไม่ทัน,ความเครียดจากการเร่งทำงานเพื่อให้ทันกำหนดส่ง หรือแม้กระความเครียดที่มีสาเหตุมาจากหัวหน้าและเพื่อนร่วมงาน และถ้าหากความเครียดเหล่านี้เกิดขึ้นในช่วงสั้น ๆ มันก็ไม่ใช่เรื่องแปลก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่ความเครียดสะสมเป็นเวลานาน มันอาจจะเป็นหนึ่งสิ่งที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตได้ในอนาคต เมื่อสัญญาณทางด้านร่างกายด้านอารมณ์ และด้านพฤติกรรมเตือนกลับขึ้นมาว่าความเครียดส่งเสียในด้านลบต่อชีวิตของคุณเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น ขอแนะนำว่าคุณควรรีบหาวิธีรับมือกับความเครียดที่มีในตอนนี้ก่อนเลยเพราะมันอาจส่งผลเสียในคุณได้ในระยะยาว
เครียดเรื่องงานมีสาเหตุจากอะไรบ้าง
ต้องขอบอกก่อนเลยว่าในบางครั้งความเครียดเรื่องงานไม่ได้เกิดขึ้นจากตัวงานเป็นนนสาเหตุหลัก แต่มันอาจเกิดขึ้นจากบรรยากาศในรูปแบบต่างๆอย่างเช่น งาน และคนที่มีนิสัยเป็นพิษ (Toxic People) ที่ทำงานร่วมกับเรา ซึ่งสาเหตุของความเครียดจากการทำงานที่พบบ่อยมากที่สุดนั้นมีดังนี้
1.ปริมาณงานมากเกินไป
- งานยากเกินความสามารถ หรือการ
- ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบหลายงาน
- ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบหลายหน้าที่
- ไม่สามารถทำเสร็จได้ทันกำหนดส่ง
2.ระยะเวลาการทำงานไม่สมดุลกับการใช้ชีวิต
- ทำงานต่อเนื่องหลายชั่วโมงโดยไม่ได้หยุดพัก
- ทำงานเป็นกะโดยไม่ได้กำหนดระยะเวลา
- เวลาเข้างานและเลิกงานไม่แน่นอน
- การให้ทำงานนอกเวลางาน
- ทำงานหลังเลิกงาน
- ทำงานในวันหยุด
3.วัฒนธรรมองค์กร เช่น
- ไม่มีส่วนร่วมในการออกความคิดเห็น
- ไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการทำงาน
- คนในแผนกไม่มีการติดต่อสื่อสาร
- ไม่มีส่วนร่วมในช่วยเหลือกัน
- หัวหน้าไม่มีความสามารถในการตัดสินใจ
- ผลตอบแทนน้อย
4.ไม่มีความก้าวหน้าในสายงาน เช่น
- ไม่มีการปรับเงินเดือน
- ไม่มีการปรับเลื่อนตำแหน่ง
5.มีปัญหากับหัวหน้าและเพื่อนร่วมงาน เช่น
- การทะเลาะเบาะแว้ง
- การเหยียดหยามและ
- การกีดกัน (Discrimination)
- การกลั่นแกล้ง (Bully)
- การคุกคามทางเพศในที่ทำงาน
6.มีปัญหาในสถานที่ทำงาน เช่
- อุปกรณ์สำนักงานไม่เพียงพอ
- ที่ทำงานเสียงดัง
- ที่ทำงานแออัด
- ที่ทำงานมีมลพิษทางอากาศ
สัญญาณที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเครียดเรื่องงาน
ความเครียดเรื่องงานมักส่งผลให้เกิดอาการคล้ายกับความเครียดเหมือนเรื่องอื่น ๆ และมักทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม ดังนี้
ผลกระทบต่อร่างกาย
1.ร่างกายจะมีการตอบสนองต่อความเครียด
- อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
- อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น
- ความดันโลหิตสูงขึ้น
- กล้ามเนื้อตึงตัวเพิ่มขึ้น
- ปวดศีรษะ
- ปวดเมื่อยตามร่างกาย
- อ่อนเพลีย
2.ระบบทางเดินอาหารแปรปรวน เช่น
- ปวดท้อง
- ท้องผูก
- ท้องเสีย
- นอนไม่หลับ
- เกิดปัญหาเกี่ยวกับผิว
3.ผลเสียระยะยาวอาจเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น
- ความดันโลหิตสูง
- เบาหวาน
- โรคหัวใจและหลอดเลือด
- โรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ (Musculoskeletal Disorders)
- โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s Disease)
- ปัญหาเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน
- มะเร็ง
ผลกระทบต่อจิตใจ
1.ความเครียดเรื่องงานอาจส่งผลเสียให้เรารู้สึกถึง
- อาการหงุดหงิดที่เกิดขึ้นได้ง่าย
- อาการไม่มีสมาธิ
- ความจำและการตัดสินใจแย่ลง
- ไม่สามารถจัดการปัญหาที่รุมเร้าได้
- หมดกำลังใจ
- มองโลกในแง่ร้าย
- วิตกกังวล
2.ระยะยาวอาจนำไปสู่ภาวะทางจิต เช่น
- หมดไฟในการทำงาน(Burnout)
- โรควิตกกังวล
- โรคซึมเศร้า
- การฆ่าตัวตาย
ผลกระทบต่อพฤติกรรม
1.มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป เช่น
- ลางานบ่อย
- ขาดงานบ่อย
- อารมณ์แปรปรวน
- หงุดหงิดใส่คนรอบข้าง
- ประสิทธิภาพการทำงานลดลง
- ความคิดสร้างสรรค์มีน้อยกว่าปกติ
- การนำเสนอความคิดใหม่ๆมีน้อยกว่าปกติ
- มีปัญหากับเพื่อนร่วมงาน
- เกิดอุบัติเหตุระหว่างการทำงาน
- เมินเฉยต่อสิ่งรอบข้าง
- ลาออกจากงาน
- หลีกหนีจากสังคม
2.พฤติกรรมการดูแลสุขภาพแย่ลง เช่น
- การรับประทานอาหาร
- การออกกำลังกาย และ
- การนอนหลับ
เทคนิครับมือความเครียดเรื่องงาน
ความเครียดเรื่องงานเป็นสิ่งหนึ่งที่มนุษย์วัยทำงานหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ถ้าหากรู้วิธีรับมือกับความเครียดจะเป็นหนึ่งในตัวช่วยที่ดี และมันก็จะส่งผลให้สามารถทำงานต่อไปได้อย่างมีความสุข และไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ โดยวิธีรับมือความเครียดง่าย ๆ ด้วยตัวเอง มีดังนี้
1.หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด
- จดบันทึกเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเครียด
- เพื่อให้รู้สาเหตุเละต้นตอของความเครียด
- เพื่อที่จะรับมือกับความเครียดได้ตรงจุด
2.กำหนดเวลาในการทำงานให้ชัดเจน
- หลีกเลี่ยงการทำงานนอกเวลางาน
- ไม่รับโทรศัพท์หลังเลิกงาน
- ตอบกลับอีเมลหลังเลิกงาน
3.บริหารเวลาให้เหมาะสม
- จัดลำดับความสำคัญในการทำงาน
- จัดตารางเวลาในการทำงานในแต่ละวัน
- เพื่อให้ทำงานได้ทันตามที่กำหนด
4.ปรับนิสัยรักความสมบูรณ์แบบ (Perfectionist)
- ตั้งเป้าหมายที่สามารถทำได้จริง
- หากเกิดข้อผิดพลาดก็ไม่ควรโทษตัวเอง
- เรียนรู้จากความผิดพลาดเพื่อปรับปรุง
5.ควรหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้คนที่ชวนทะเลาะและ
- คนที่มีปัญหาอยู่ตลอดเวลา
- เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาต่อกัน
6.หากเป็นการทำร้ายร่างกายและจิตใจและคุกคามทางเพศ
- แจ้งปัญหาที่เกิดขึ้นให้ฝ่ายบุคคลรับทราบ
- แจ้งปัญหาที่เกิดขึ้นให้หัวหน้างานรับทราบ
- แจ้งความดำเนินคดี
7.หาเวลาพักเติมพลังกายและใจหลังเลิกงาน เช่น
- แช่น้ำอุ่น
- ฟังเพลงสบาย ๆ
- อ่านหนังสือที่ชอบ
8.ทำกิจกรรมที่ชอบกับเพื่อนและครอบครัวในวันหยุด เช่น
- ทำอาหาร
- รับประทานอาหารนอกบ้าน
- ชมภาพยนตร์
9.หลีกเลี่ยงการผ่อนคลายความเครียดด้วยการพึ่งพา
- เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
- สูบบุหรี่
- สารเสพติด
10.ทำกิจกรรมผ่อนคลายความเครียดที่ดีต่อสุขภาพ เช่น
- การนั่งสมาธิ
- การฝึกหายใจ
- การเล่นโยคะ
11.ดูแลสุขภาพโดยรวมให้แข็งแรงด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และ
12.ดูแลสุขภาพโดยรวมให้แข็งแรงด้วยการออกกำลังกายสม่ำเสมอ
13.หากไม่มีเวลาให้เริ่มจาก
- การออกกำลังกายกับเก้าอี้ทำงาน
- เพื่อเพิ่มความแข็งแรงและยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ
- หรือแจ้งหัวหน้างานหรือหัวหน้าฝ่ายบุคคลให้ช่วยหาทางแก้ไขปัญหา
14.หากเกิดความเครียดเรื่องงานในรูปแบบรุณแรงและไม่สามารถรับมือได้ด้วยตัวเองแถมมันยังส่งผลเสียต่อการทำงานและหารใช้ชีวิตประจำวัน
แนะนำว่าควรไปปรึกษานักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์ หรือไปพบผู้เชี่ยวชาญเฉพสะด้านเพื่อหาสาเหตุและให้คำปรึกษาในการปรับความคิดและพฤติกรรมให้เหมาะสมเพื่อบรรเทาความเครียดที่รวมอยู่ในหัว อีกทั้งยังจะได้รับคำแนะนำในการดูแลตัวเองเมื่อเกิดความเครียดอย่างเหมาะสม
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์