Friday, 3 May 2024

โรคกรดไหลย้อน สาเหตุ-อาการเบื้องต้น และการรักษา

27 Feb 2023
176

เรื่องราวสุขภาพน่ารู้เกี่ยวกับ โรคกรดไหลย้อน อาการที่นอกเหนือจากการแสบร้อนบริเวณลิ้นปี่ มีอีกหลายอาการเบื้องต้นที่สามารถสังเกตได้ด้วยตัวเอง อาการใกล้เคียงหลังเป็นกรดไหลย้อน มีผลกระทบต่อช่องปาก ส่วนวิธีรักษามีหลากหลายขึ้นอยู่กับอาการที่เป็น

สล็อต xo Slotxo

โรคกรดไหลย้อน สาเหตุอาการ และการรักษา ครั้งรักษาด้วยยาไม่หาย

โรคกรดไหลย้อน หรือ GERD (Gastroesophageal Reflux Disease)

โรคกรดไหลย้อน หรือ GERD (Gastroesophageal Reflux Disease) โลกนี้เกิดจากการคัดหลั่งของสารที่อยู่ภายในกระเพาะอาหาร ซึ่งสารคัดหลั่งนี้เรียกง่ายๆก็คือกรดหรือแก๊ส ที่อยู่ภายในกระเพาะอาหารแล้วมันไหลย้อนกลับไปที่หลอดอาหาร ส่งผลทำให้ร่างกายของเรามีอาการจุกเสียดที่ลิ้นปี่ มันสามารถเกิดขึ้นได้ภายหลังจากที่รับประทานอาหารลงไป ส่วนใหญ่คนที่เป็น “กรดไหลย้อน” มักจะมีปริมาณกรดหรือแก๊สในปริมาณมาก เมื่อเคยเป็นแล้วมักจะเกิดขึ้นบ่อยๆ และจะมีความไวต่อกรดแก๊สในกระเพาะอาหารอย่างมาก มากกว่าคนขี้ไม่เคยเป็นโรคกรดไหลย้อน อย่างไรก็ตามโลกนี้สามารถเกิดขึ้นกับทุกคน ลองมาตรวจเช็กอาการที่อาจจะเกิดขึ้นแล้วแต่คุณยังไม่รู้ตัว

อาการเบื้องต้นของ “โรคกรดไหลย้อน”

คนที่เป็นกรดไหลย้อนเบื้องต้นจะรู้สึกปวดแสบปวดร้อนที่ลิ้นปี่ หรือช่วงกลางหน้าอก อาการนี้จะเกิดหลังจากที่ทานอาหารเสร็จ ในบางครั้งจะรู้สึกว่ามีความเปรี้ยวหรือขมในปาก-คอ นอกจากนี้ยังมีอาการจุกเสียดหรือแน่นท้องขึ้นไปตลอดจนถึงลิ้นปี่

อาการข้างเคียงอื่นๆที่อาจเกิดขึ้นจากการเป็นกรดไหลย้อน

รู้สึกเจ็บหน้าอก ซึ่งไม่เกี่ยวกับโรคหัวใจ บางครั้งและบางคนอาจจะมีเสียงที่แหบ หรือน้ำเสียงที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากการเป็นกรดไหลย้อน และบางคนก็อาจจะไอแบบเรื้อรัง โดยที่คุณเองก็ไม่รู้สาเหตุว่าเกิดจากอะไร หลังจากที่เป็นกรดไหลย้อนมาสักพักเวลากินอะไรจะรู้สึกจุกที่ลำคอ ทั้งที่ยังไม่ได้กลืนอะไรลงไป ส่วนอาการต่อมาจะมีผลกระทบกับช่องปาก ปัญหาแรกคือฟันผุตามต่อด้วยกลิ่นปาก นอกจากนี้ใครที่เป็นโรคหืดแล้วเป็นกรดไหลย้อน จะไม่สามารถรักษาให้หายด้วยการทานยาแบบคนปกติ

ภาพประกอบข่าวสุขภาพ โรคกรดไหลย้อน

วิธีการรักษามีดังต่อไปนี้

-มีการตรวจวัดกรดในหลอดอาหารทุก 24 ชั่วโมง

-ให้ตรวจการเคลื่อนไหวภายในระบบทางเดินอาหาร

-ส่องกล้องตรวจสอบระบบทางเดินอาหาร

-มีการสวนแป้งแบเรียม

-รักษาด้วยเครื่อง tif เพื่อหลีกเลี่ยงการผ่าตัด (อาการรุนแรง กินยาไม่หาย)