ไขปริศนาคาใจ!?? เหตุผลที่ลืมความฝัน หลังตื่นนอน!!มันเป็นเพราะสุขภาพ“ฮอร์โมน”ความจำของเราไม่ยอมทำงาน หรือเป็นเพราะว่าเราเป็นคนขี้ลืมเอง! กันแน่??เชื่อว่าคำถามเหล่านี้เคยลอยเข้ามาในหัวแน่นอนหลังจากตื่นนอนตอนเช้า บอกเลยใครที่สงสัยอยู่ต้องดูเรื่องราวที่เรานำมาให้ดูในวันนี้ห้ามพลาดเด็ดขาด
เหตุผลที่ลืมความฝัน ทั้งๆที่ควรจะจำได้แต่กลับจำไม่ได้หลังตื่นนอนในตอนเช้า!??
ต้องขออธิบายก่อนนะว่าในหนึ่งคืนที่เรานอนหลับนั้นโดยปกติทั่วไปเราจฝันประมาณ 4-5 รอบต่อคืน ซึ่งมันจะฝันวนเวียนไปตลอดทั้งคืนแต่เมื่อถึงช่วง REM (Rapid Eye Movement) ความฝันจะชัดเจนที่สุดและอาจจะเป็นความฝันที่จำได้ที่สุด และเป็นช่วงที่แปลกที่สุดเพราะว่าเป็นช่วงที่สมองตื่นตัวสุดๆแต่ร่างกายนั้นก็นิ่งและหลับสนิทสุดๆเช่นกัน
แล้วทำไม!?? สมองไม่ชอบจดจำเรื่องในฝัน
เมื่อเราเข้านอนระบบบางส่วนบนร่างกายก็จะพักผ่อนตามไปด้วย แต่ในทางกลับกันจะมีอยู่หนึ่งส่วนบนร่างกายที่ไม่ยอมรับไม่ยอมนอนเหมือส่วนอื่นๆและส่วนที่ว่านั้นก็คือ Hippocampus ที่มีหน้าที่ต้องทำประจำคือจัดแจงข้อมูลอันหลากหลายให้เป็นระบบระเบียบเรียบร้อย และเจ้า Hippocampus มักทำงานในตอนที่เรานอนหลับ แถมมันยังวนเวียนจัดเก็บเพียงข้อมูลเดิมๆเก่าๆ จนไม่สามารถรับเข้าข้อมูลใหม่ๆได้ จากงานวิจัยนั้นบอกว่ามันไม่ยอมรับข้อมูลใหม่ๆที่เกิดขึ้นมา จนส่งผลให้เราไม่สามารถจดจำความฝันได้หรือในบางครั้งอาจจะจำได้รางๆแบบไม่ชัดเจน
“Thomas Andrillon โทมัส แอนดริลอนและเพื่อนักวิจัย ” กล่าว
“หาก Hippocampus หลับใหลเป็นลำดับท้ายสุด มันก็อาจจะเป็นไปได้ว่า Hippocampus จะลุกขึ้นจากการหลับไหลหลังเพื่อนก็ได้เช่นกัน,เมื่อมนุษย์ตื่นขึ้นมากับความฝันที่ถูกจัดเก็บเอาไว้ส่วนความทรงจำระยะสั้น Hippocampu ก็อาจจะทำงานไม่เต็มที่และนี่อาจเป็นอีกหนึ่งเหตุผลทีทำให้เราจำความฝันไม่ได้เลย”
ฮอร์โมนความจำไม่ยอมทำงาน!??..และนี่คือหนึ่งสิ่งส่งผลทำให้ความทรงจำหรือความฝันของเราเลือนราง
- แอซิติลโคลีน(Acetylcholine)
- นอร์เอพิเนฟรีน(Norepinephrine : NE)
- นอร์อะดรีนาลีน(Noradrenaline : NA)
ผลการศึกษาในปี 2017 บอกว่าในตอนที่เราหลับอยู่สองตัวด้านบนนั้นจะลดระดับลง แต่พอช่วง REM เข้ามา Acetylcholine จะกลับมาทำงานปกติเหมือนไม่ได้หลับ ส่วน Norepinephrine จะลดลงต่ำเหมือนเดิม และนี่คือเหตุผลที่นักวิจัยคาดว่าส่งผลให้มนุษย์บางคนจำความฝันไม่ได้เลย
ฝันที่เราจำได้ เป็นฝันแบบไหน? คือฝันที่ทำให้เราตื่นเต้นได้อย่างเช่นน่ากลัวมากน่าตกใจมากหรือน่าดีใจมากๆ ซึ่งมันคือความฝันที่เปิดการใช้งานสมองส่วน Dorsolateral prefrontal cortex (DLPFC) Robert Stickgold กล่าวทิ้งท้าย
“ความฝันคือเรื่องที่บอบบางมาก ๆ และถ้าหากคุณอยากจดจำความฝันได้แต่มีพฤติกรรมตื่นขึ้นแล้วลุกไปทำอะไรเลยนั้น คือสิ่งที่ทำให้จำความฝันได้แถมยังลืมเลือนมันไปได้อย่าง่ายดาย และความทรงจำใหม่ๆ จะเข้ามาแทนที่ความฝันเมื่อคืนไปเลยก็เป็นได้”
สนับสนุนโดย
UFABET | UFA365 | UFABET เข้าสู่ระบบ | UFABET เว็บตรง | สล็อต เว็บตรง | SLOTXO | สล็อต | PG SLOT | สล็อต XO | สล็อต | JOKER123 | สล็อต เว็บตรง | สล็อตโจ๊กเกอร์